ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พลังงานยึดเหนี่ยว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chale yan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Chale yan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
ที่[[ฟิสิกส์นิวเคลียร์|ระดับนิวเคลียร์]] '''พลังงานยึดเหนี่ยวนิวเคลียร์''' (พลังงานยึดเหนี่ยวของ[[นิวคลีออน]]ใน[[นิวไคลด์]]) มาจาก[[อันตรกิริยาอย่างเข้ม|แรงนิวเคลียร์แบบเข้ม ]]และ[[พลังงาน]]ที่ต้องการเพื่อใช้แยก[[นิวเคลียสอะตอม|นิวเคลียส]]เป็น[[นิวตรอน]]และ[[โปรตอน]]อิสระ ซึ่งอนุภาคต้องมีระยะห่างจากกันเพียงพอที่จะทำให้แรงนิวเคลียร์แบบเข้มไม่สามารถทำให้อนุภาคมีปฏิกิริยากัน
 
ใน[[ฟิสิกส์ดาราศาสตร์]] พลังงานยึดเหนี่ยวโน้มถ่วงของเทหวัตถุในท้องฟ้าหรือในอวกาศเป็นพลังงานที่ต้องการขยายสสารไปไม่มีที่สิ้นสุด อย่าสับสนกับ[[พลังงานศักย์|พลังงานศักย์โน้มถ่วง]]ซึ่งเป็นพลังงานที่ต้องการแยกวัตถุทั้งสองออกจากกัน เช่น ดาวเทียม เป็นระยะห่างอนันต์และวัตถุทั้งสองต้องไม่มีการเปลี่ยนแปลง (พลังงานอย่างหลังต่ำกว่า)
ใน[[ฟิสิกส์ดาราศาสตร์]] <!--[[gravitational binding energy]] of a celestial body is the energy required to expand the material to infinity. This quantity is not to be confused with the [[gravitational potential energy]], which is the energy required to separate two bodies, such as a celestial body and a satellite, to infinite distance, keeping each intact (the latter energy is lower).
 
<!--In bound systems, if the binding energy is removed from the system, it must be subtracted from the mass of the unbound system, simply because this energy has mass, and if subtracted from the system at the time it is bound, will result in removal of mass from the system. System mass is not conserved in this process because the system is not '''closed''' during the binding process. -->
 
==อ้างอิง==