ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าฟ้าก้อนแก้วอินแถลง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
'''เจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง''' เป็นโอรสองค์ที่ 5 ของ[[เจ้าฟ้าโชติกองไท]] ซึ่งขึ้นเป็นเจ้าหอคำ[[เชียงตุง]] สืบแทนเจ้าพี่คือ[[เจ้าฟ้ามหาพยัคฆโชติ]]
 
เจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง มีชายา 6 พระองค์ มีโอรส-ธิดารวม 19 พระองค์ <ref>อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพเจ้าทิพวรรณ ณ เชียงตุง ๒๗ มกราคม ๒๕๓๓. หน้า ๑๑๙-๑๒๐</ref> ในจำนวนนี้มีได้แก่<ref>[http://www.lannaworld.com/cgi/lannaboard/reply_topic.php?id=15149 3 คน ที่มีสายสัมพันธ์รักกับคนในราชอาณาจักรล้านนา คือรวมหลานเจ้าฟ้าไทยใหญ่เจียงตุง]</ref>
 
*เจ้าแม่ปทุมามหาเทวี ราชธิดาเจ้าเมืองสิงห์ เป็นมหาเทวี(มเหสีเอก) มีราชธิดา 1 องค์ และราชบุตร 1 องค์ คือ
* [[เจ้าฟ้าสิริสุวรรณราช ยสสรพรหมลือ (พรหมลือ ณ เชียงตุง)]] เกิดแต่ "เจ้าแม่เมือง" (อัครมเหสี) [[แม่เจ้าปทุมมหาเทวี]] (ธิดาเจ้าเมืองสิง) (คนเชียงตุงเรียกเจ้าแม่เมือง มีอำนาจมาก) ต่อมาเจ้าฟ้าพรหมลือได้มีสายสัมพันธ์รักกับ[[เจ้าทิพวรรณ ณ เชียงตุง]] (พ.ศ. 2446-2532) หลานสาวของ[[เจ้าบุญวาทย์วงศ์มานิต]] เจ้าหลวงลำปางองค์ที่ 13 (มารดาคือ[[เจ้าหญิงฝนห่าแก้ว]] เป็นธิดาเจ้าหลวงลำปาง) โดยเจ้าฟ้าพรหมลือเป็น 1 ใน 3 เจ้านายชั้นสูงของเชียงตุงที่สามารถกางสัปทนและนั่งเสลี่ยงได้ ประกอบด้วย เจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง เจ้าหอคำ, เจ้าฟ้ากองไท (รัชทายาท) และเจ้าฟ้าพรหมลือ (โอรสเจ้าแม่เมือง) ในขณะที่เจ้านายคนอื่นใช้ได้แค่ "จ้องคำ" (ร่มทอง) <ref>ความทรงจำที่เมืองเชียงตุงของเจ้านางสุคันธา อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพเจ้านางสุคันธา ณ เชียงใหม่ ๑๙ มกราคม ๒๕๔๖</ref>
**เจ้าหญิงทิพย์เกษร
 
**[[เจ้าฟ้าสิริสุวรรณราช ยสสรพรหมลือ (พรหมลือ ณ เชียงตุง)]] (ต้นสกุล ณ เชียงตุง ได้สมรสกับ[[เจ้าทิพวรรณ ณ เชียงตุง]] (พ.ศ. 2446-2532) หลานสาวของ[[เจ้าบุญวาทย์วงศ์มานิต]] เจ้าหลวงลำปางองค์ที่ 13 (มารดาคือ[[เจ้าหญิงฝนห่าแก้ว]] เป็นธิดาเจ้าหลวงลำปาง)
* [[เจ้าขุนศึก]] เกิดแต่ [[เจ้านางจามฟอง]] ต่อมาได้สมรสกับนางสาวธาดา พัฒนถาบุตร ธิดาของแม่บัวจันทร์และนายดาบแดง พัฒนถาบุตร (2430-2523) คหบดีบ้านวัวลาย เชียงใหม่ <ref>ชีวิตเจ้าฟ้า อนุสรณ์งานประชุมเพลิงเจ้าฟ้าขุนศึก เม็งราย ๔ มีนาคม ๒๕๓๘</ref>
*เจ้านางจามฟอง เดิมเป็นสามัญชนมีราชบุตร-ราชธิดารวม 6 องค์ คือ
 
**เจ้ากองไท (ได้เป็นเจ้าฟ้าเชียงตุงต่อจากเจ้าพ่อ)
* [[เจ้าสุคันธา ณ เชียงตุง]] เกิดแต่ [[เจ้านางทิพย์หลวง]] หรือเจ้านางบัวทิพย์หลวง คือ ต่อมาได้เสกสมรสกับ [[เจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่]] ราชบุตรของ[[พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ]] เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ 9
**เจ้าอินทรา (ได้เป็นบุตรบุญธรรมเจ้าฟ้าเมืองสีป้อ)
**เจ้าปราบเมือง
* [[*เจ้าขุนศึก]]สุวรรณสงคราม เกิดแต่ [[เจ้านางจามฟอง]](ต้นสกุล ขุนศึกเม็งราย ต่อมาได้สมรสกับนางสาวธาดา พัฒนถาบุตร ธิดาของแม่บัวจันทร์และนายดาบแดง พัฒนถาบุตร (2430-2523) คหบดีบ้านวัวลาย เชียงใหม่ )<ref>ชีวิตเจ้าฟ้า อนุสรณ์งานประชุมเพลิงเจ้าฟ้าขุนศึก เม็งราย ๔ มีนาคม ๒๕๓๘</ref>
**เจ้าหญิงบัวสวรรค์
**เจ้าหญิงฟองแก้ว
*เจ้านางบัวทิพย์หลวง หรือเจ้านางทิพย์หลวง มี 5 องค์ ได้แก่
**เจ้าหญิงแว่นแก้ว (เป็นมหาเทวีเจ้าฟ้าลอกจอก)
* *[[เจ้าสุคันธา ณ เชียงตุง]]|เจ้าหญิงสุคันธา เกิดแต่ [[เจ้านางทิพย์หลวงเชียงตุง]] หรือเจ้านางบัวทิพย์หลวง คือ ต่อมาได้เสก(สมรสกับ [[เจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่]] ราชบุตรของ[[พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ]] เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ 9)
**เจ้าหญิงแว่นทิพย์ (เป็นมหาเทวีเจ้าฟ้าแสนหวี แต่ภายหลังหย่าร้าง)
**เจ้าสิงห์ไชย
**เจ้าแก้วมาเมือง
*เจ้านางแดงหลวง มี 2 องค์ ได้แก่
**เจ้าสายเมือง
**เจ้าหญิงจันทร์ฟอง (สมรสกับข้าราชการป่าไม้ชาวไทย)
*เจ้านางบุญยวง มี 2 องค์ ได้แก่
**เจ้าหญิงฟองนวล
**เจ้าบุญวาทย์วงศา (ท่านผู้นี้มีบทบาทในการต้อนรับกองทัพไทยที่บุกเข้าเชียงตุงในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพพายัพของไทย ซึ่งนำโดยหลวงเสรีเริงฤทธิ์(พลเอก[[จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์]]) ได้ใช้คุ้มของท่านผู้นี้เป็นกองบัญชาการ)
*เจ้านางบัวทิพย์น้อย ได้แก่
**เจ้าหญิงองค์หนึ่ง
**เจ้ายอดเมือง
 
== อ้างอิง ==