ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระครูอุตรการบดี (ทา โสณุตฺตโร)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
| ชื่อ = ทา
| ชื่อภาพ = [[ภาพ:LP-ta.jpg|200px]]
| ฉายา = โสณุตฺตโร
| ชื่อทั่วไป = หลวงพ่อวันทา
| สมณศักดิ์ = พระครูอุตรการบดี
| วันเกิด = พ.ศ. 2379 2366
| วันบวช = 2379
| วันตาย = พ.ศ. 24632462
| พรรษา = 6476
| อายุ = 8496
| วัด = วัดพะเนียงแตก
| จังหวัด = นครปฐม
| สังกัด = มหานิกาย
| วุฒิ = เปรียญธรรม-บาลีสันสฤต
| ตำแหน่ง = เจ้าคณะแขวงรองเมืองนครปฐมนครไชยศรี( ในขณะนั้น )
}}
 
'''พระครูอุตรการบดี (ทา)''' เป็นภิกษุชาวไทย มีชื่อเสียงในระหว่าง พ.ศ. 2430-2460 ความเฉียบขาดและความดุของท่านทำให้นักเลงและเสือร้ายเกรงกลัวมาก จนได้รับฉายาว่า "หลวงพ่อเสือ" บ้างก็เรียก "พ่อเสือกระเบนยอดด้วน" เนื่องจากท่านชอบถือหางกระเบนลงอาคมหรือที่เราเรียกว่ากระเบนยอดด้วนบ้างหรือกระเบนหางด้วนบ้างนั่นเอง สมณศักดิ์สุดท้ายที่ "พระครูอุตรการบดี" ดำรงตำแหน่ง "เจ้าคณะแขวงรองเมืองนครปฐมนครไชยศรีและพระอุปัชฌาย์ทางตอนเหนือขององค์พระปฐมเจดีย์ในสมัยรัชกาลที่ ๕" </br>
 
== ประวัติ ==
พระทา [[วัดพะเนียงแตก]] พื้นเพเป็นชาวบ้านหนองเสือ อำเภอโพธาราม [[จังหวัดราชบุรี]] เกิดเมื่อปี พ.ศ. 23792366 ในสมัยรัชกาลที่ 3 เมื่ออายุ 6 ขวบ ท่านได้ศึกษาที่วัดโพธาราม และบรรพชาเป็นสามเณรเมื่ออายุ 1513 ปีที่วัดเดียวกัน ต่อมาเมื่อครบอายุบวช จึงได้อุปสมบท ณ วัดบ้านฆ้อง (วัดบ้านฆ้อง ในอดีตเป็นสำนักปฏิบัติธรรมและพระกัมมัฏฐานที่มีชื่อเสียงมาก)
 
พระทา ภายหลังจากการอุปสมบทแล้ว ได้ตั้งใจศึกษาพระธรรมวินัยจนมีความรู้อย่างแตกฉาน เมื่อเห็นสมควรแล้ว ได้ศึกษาและฝึกปฏิบัติพระกัมมัฏฐานควบคู่ไปกับการเรียนคาถาอาคมต่าง ๆ จนชำนาญ จึงกราบลาพระอาจารย์ ออกเดินธุดงค์ไปตามสถานที่ต่าง ๆ กาลเวลาได้ล่วงเลยมาเป็นระยะเวลาหลายสิบปี ที่ท่านพระทาได้ออกออกธุดงค์ จนกระทั่ง พ.ศ. 24302417 ขณะนั้นท่านมีอายุ 51 ปี ได้เดินมาถึงบริเวณ ตำบลพะเนียงแตกหรือมาบแค ในปัจจุบัน[[จังหวัดนครปฐม]] ซึ่งบริเวณนั้นเป็นพื้นที่รกร้างนอกเมือง ท่านได้ปักกรดพักแรมและทราบด้วยฌาณว่า บริเวณนี้เคยเป็นพื้นที่ที่มีความเจริญรุ่งเรืองมาก่อน พระทาจึงได้ออกเดินสำรวจโดยรอบ และได้พบระฆังใบใหญ่ใบหนึ่งมีอักขระขอมจารึกไว้ เป็นข้อความปริศนาแต่ตีความได้ไม่ยาก แสดงว่าเจ้าของทรัพย์ได้อธิษฐานมอบแก่ผู้มีบุญบารมีและมีจิตเป็นกุศลจึงจะสามารถพบเจอสมบัติ ซึ่งท่านพระทาทราบเจตนารมย์ของเจ้าของสมบัติ จึงนำสมบัตินั้นไปสร้างวัด
 
พระทา [[วัดพะเนียงแตก]] ช่วงนั้นมีชื่อเสียงโด่งดังมาก ได้รับการยอมรับนับถือกันอย่างกว้างขวาง [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 5 ทรงทราบถึงกิติคุณดังกล่าว จึงรับสั่งโปรดเกล้าให้เข้าเฝ้าอยู่เสมอ พระทาก็เป็นเถราจารย์องค์หนึ่งที่พระองค์ท่านโปรดปราน ดังนั้นพระราชพิธีหลวงต่าง ๆ ท่านจะนิมนต์พระทาอยู่เสมอ
บรรทัด 36:
 
 
พระทาได้ถึงแก่มรณภาพด้วยอาการสงบ ในปี พ.ศ. 24632462 รวมสิริอายุได้ประมาณ 8496 ปี 6476 พรรษา
 
== การรับเป็นศิษย์ ==