ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟรีดริช เอ็งเงิลส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ELUNIUMMAN (คุย | ส่วนร่วม)
ฟรีดริช เองเงิลส์ ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น ฟรีดริช แองเจิลส์: อ่านชื่อตามหลักภาษอังกฤษ
ELUNIUMMAN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ภาพ:Engels 1856.jpg|180px|thumb|ฟรีดริช เองเงิลส์]]
 
{{Infobox Philosopher |
'''ฟรีดริช เองเงิลส์''' (Friedrich Engels [[28 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2363]] - [[5 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2438]]) เป็นนักคิดนักเขียนชาวเยอรมัน และนักทฤษฎี[[สังคมนิยมวิทยาศาสตร์]] เป็นเพื่อนร่วมงานและคู่คิดที่ใกล้ชิดของ [[คาร์ล มาร์กซ]] โดยร่วมกันวางรากฐานของอุดมการณ์[[คอมมิวนิสต์]]และ[[ลัทธิมาร์กซ]] และมีบทบาทสำคัญในการปรับปรุงหลักการของลัทธิมาร์กซว่าด้วย[[วัตถุนิยมทางประวัติศาสตร์]] <!-- historical materialism --> และ[[วัตถุนิยมวิภาษวิธี]] <!-- dialectical materialism --> ให้ก้าวหน้าจนเป็นที่ยอมรับทั่วไปในขบวนการสังคมนิยม
|region = นักเศรษฐศาสตร์ชาวตะวันตก |
|era = นักเศรษฐศาสตร์ในศตววรษที่ 20 <br /> เศรษฐศาสตร์สำนักมาร์กซิส |
|color = #B0C4DE |
|image_name = Engels 1856.jpg
|image_size = 200px
|name = '''ฟรีดริช แองเจิลส์'''|
|birth = [[28 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2363]] เบเมน, ปรักเซีย|
|death = {{วันตาย-อายุ|2438|8|5|2363|11|28}} [[ลอนดอน]], [[อังกฤษ]], [[สหราชอาณาจักร]]|
|school_tradition = เศรษฐศาสตร์สำนักมาร์กซิส |
|main_interests = [[เศรษฐศาสตร์]], [[เศรษฐศาสตร์การเมือง]], ความน่าจะเป็น, ทฤษฎีการต่อสู้ของชนชั้น, ระบบทุนนินยม |
|influences = |
|influenced = |
|notable_ideas = ผู้ร่วมก่อตั้งเศรษฐศาสตร์สำนักมาร์กซิสกับ คาร์ล มาร์กซ์, วัตถุนิยมเชิงประวัติศาสตร์ , ทฤษฎีสภาวะผิดปกติและการใช้หาประโยชน์อย่างไม่ถูกต้องกับคนงาน}}
 
'''ฟรีดริช เองเงิลส์แองเจิลส์''' ({{lang-en|Friedrich Engels [[28 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2363]] - [[5 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2438]]}}) เป็นนักคิดนักเขียนชาวเยอรมัน และนักทฤษฎี[[สังคมนิยมวิทยาศาสตร์]] เป็นเพื่อนร่วมงานและคู่คิดที่ใกล้ชิดของ [[คาร์ล มาร์กซมาร์กซ์]] โดยร่วมกันวางรากฐานของอุดมการณ์[[คอมมิวนิสต์]]และ[[ลัทธิมาร์กซ]] และมีบทบาทสำคัญในการปรับปรุงหลักการของลัทธิมาร์กซว่าด้วย[[วัตถุนิยมทางประวัติศาสตร์]] <!-- historical materialism --> และ[[วัตถุนิยมวิภาษวิธี]] <!-- dialectical materialism --> ให้ก้าวหน้าจนเป็นที่ยอมรับทั่วไปในขบวนการสังคมนิยม
 
== ประวัติ ==
 
เกิดวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2363 ที่เมือง[[บาร์เมิน]] [[เบเมน, ปรัสเซีย]] เป็นบุตรของนักธุรกิจสิ่งทอที่มั่งคั่ง เขาเข้าศึกษาในวิทยาลัยแต่เรียนไม่สำเร็จเพราะปฏิเสธที่จะเข้าสอบและลาออกมาช่วยบิดาทำธุรกิจ ใน พ.ศ. 2384 เขาถูกเกณฑ์เป็นทหารและไปประจำการอยู่ที่[[เบอร์ลิน|นครเบอร์ลิน]]เป็นเวลาปีเศษ เขาสนใจศึกษาเกี่ยวกับกองทหารและยุทธศาสตร์การรบ
ซึ่งในเวลาต่อมาเขาก็ได้ถ่ายทอดความรู้ทางทหารดังกล่าวให้มาร์กซนำมาเขียนทฤษฏีการเมืองว่าด้วยอำนาจรัฐ โดยเขามีโอกาสพบและรู้จักมาร์กซเป็นครั้งแรกที่เมือง[[โคโลญ]] ใน พ.ศ. 2385 ในขณะนั้นมาร์กซมาร์กซ์เป็นบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ [[Rheinische Zeitung]] ได้ชักชวนเองเงิลส์แองเจิลส์ให้ช่วยเขียนบทความเพื่อตีพิมพ์ มิตรภาพที่เริ่มต้นด้วยตัวอักษรทำให้มาร์กซและเองเงิลส์มาร์กซ์และแองเจิลส์เริ่มใกล้ชิดกันทางความคิด และระหว่าง พ.ศ. 2385 - 2387 เองเงิลส์แองเจิลส์ได้ส่งข้อเขียนและทัศนะความคิดเห็นที่แหลมคมทางการเมืองและสังคมให้กับหนังสือต่าง ๆ ที่มาร์กซจัดทำอยู่ไม่ขาดระยะ
 
ในปลายปี พ.ศ. 2385 เขาได้ย้ายไปอยู่อังกฤษและทำงานที่โรงงานสิ่งทอของบิดาสาขาเมือง[[แมนเชสเตอร์]] เขาเชื่อว่า ระบบอุตสาหกรรมของอังกฤษที่กำลังพัฒนาและขยายตัวอย่างรวดเร็ว จะทำให้ชนชั้นกรรมกรมีบทบาทและความสำคัญมากขึ้นทั้งกรรมกรจะเป็นพลังหลักของการปฏิวัติเพื่อสร้างสังคมใหม่ เขาจึงเข้าสังกัดกลุ่มปัญญาชนสังคมนิยม และสนับสนุนการเคลื่อนไหวของ[[ขบวนการชาร์ทิส]] (Chartism) ขณะเดียวกันเขาก็ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสภาวะความเป็นอยู่ของกรรมกรและผลกระทบของชุมชนที่สืบเนื่องจากระบบอุตสาหกรรมใน พ.ศ. 2387 เขาเรียบเรียงผลงานการค้นคว้าเป็นหนังสือสำคัญชื่อ ''Die Lage derarbeitenden Klasse in England'' (The Condition of the Working Class in England) โดยเขียนเป็นภาษาเยอรมันและพิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกในดินแดนเยอรมันและนับเป็นงานเขียนคลาสสิกที่บุกเบิกแนวความคิดสังคมนิยมว่าด้วยชีวิตของกรรมกรอย่างละเอียด มาร์กซชื่นชมหนังสือเล่มนี้มาก เพราะทำให้เขาได้ข้อมูลว่าด้วยลักษณะและวิธีการทำงานของระบบทุนนิยมและบทบาทของอังกฤษในระบอบทุนนิยม
 
ในกลางปี พ.ศ. 2387 เมื่อเขาเดินทางมาฝรั่งเศสและมีโอกาสพบกับมาร์กซมาร์กซ์ซึ่งขณะนั้นพำนักอยู่ที่ปารีส บุคคลทั้งสองถูกคอกันและในเวลาอันสั้นก็ได้กลายเป็นเพื่อนสนิทและคู่คิดทางปัญญาของกันและกัน และต่อมาเขาก็ได้ถอนตัวออกจากธุรกิจที่รับผิดชอบโดยมาช่วยมาร์กซทำงานค้นคว้าที่[[บรัสเซลส์]]และในดินแดนเยอรมัน งานเขียนร่วมกันชิ้นแรกของทั้งสองคือ ''The German Ideology'' งานเขียนเรื่องนี้ถือเป็นตำราแบบฉบับที่สำคัญเล่มหนึ่งของสำนักคิดมาร์กซิสต์เศรษฐศาสตร์มาร์กซิส
 
ในต้นปี พ.ศ. 2390 เขาและมาร์กซมาร์กซ์เข้าเป็นสมาชิกกลุ่มสังคมนิยมที่รู้จักกันในชื่อ ''"สันนิบาตของผู้รักความเป็นธรรม"'' (League of the Just) ทั้งเขาและมาร์กซมาร์กซ์ต่างมีบทบาทสำคัญในการชี้แนะทางความคิดและจัดทำโครงการปฏิบัติงานของสันนิบาตฯ ในการประชุมครั้งที่ 2 ของสันนิบาตฯ ในวันที่ 28 พฤศจิกายน ถึงวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2390 ที่ประชุมมีมติให้เขาและมาร์กซร่วมเขียนร่างโครงการที่กำหนดสถานภาพและบทบาท ตลอดจนหลักนโยบายและการดำเนินงานของสันนิบาตเพื่อพิจารณา เขาเป็นผู้ยกร่างโครงการและมาร์กซแก้ไขปรับปรุงให้ชื่อว่า ''"หลักการลัทธิคอมมิวนิสต์"'' (Principles of Communism) แต่ที่ประชุมให้นำออกประกาศในชื่อ ''"[[แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์]]"'' (Communist Manifesto) ซึ่งพิมพ์เผยแพร่ในต้นเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2391 ก่อนหน้าการปฏิวัติเดือนกุมภาพันธ์ในฝรั่งเศส 1 สัปดาห์ พร้อมกันนี้สันนิบาตของผู้รักความเป็นธรรมก็เปลี่ยนชื่อเป็น ''"สันนิบาตคอมมิวนิสต์"'' (Leagues of the Communist)
 
เมื่อเกิดการปฏิวัติ พ.ศ. 2391 ทั่วยุโรป เขาได้เดินทางกลับไปบาร์เมินเพื่อเคลื่อนไหวปฏิวัติ แต่ในเวลาอันสั้นก็ต้องลี้ภัยกลับมาอังกฤษอีกครั้งหนึ่งเนื่องจากการปฏิวัติในดินแดนเยอรมันล้มเหลว
 
พ.ศ. 2393 เขากลับไปทำธุรกิจโรงงานสิ่งทอที่เมืองแมนเชสเตอร์อีกครั้ง เพราะตระหนักว่าเขาต้องมีรายได้ประจำเพื่อเลี้ยงดูครอบครัว และจุนเจือมาร์กซมาร์กซ์ที่กำลังศึกษาค้นคว้าเพื่อเขียนหนังสือเรื่อง "[[ทุน (หนังสือ)|ทุน]]" (Capital)
 
พ.ศ. 2407 เขาเป็นผู้แทนสันนิบาตคอมมิวนิสต์เข้าร่วมประชุมใหญ่ครั้งแรกของ[[สมาคมกรรมกรสากล]] (International Workingmen's Association) ซึ่งต่อมามีชื่อเป็นที่รู้จักกันว่า ''องค์การคอมมิวนิสต์สากลที่ 1'' เขาได้รับเลือกเป็นกรรมการในคณะมนตรีทั่วไป
 
ในปลายปี พ.ศ. 2412 บิดาของเขาก็เสียชีวิต เขาจึงขายกิจการโรงงานสิ่งทอทั้งหมดและใน พ.ศ. 2413 ก็อพยพไปลอนดอนเพื่อใช้ชีวิตอิสระและเพื่อดูแลมาร์กซมาร์กซ์ให้มีเวลาเขียนหนังสือเรื่อง "ทุน" ให้สำเร็จ ภายหลังมรณกรรมการมรณะกรรมของมาร์กซมาร์กซ์ ใน พ.ศ. 2426 เขาได้ใช้ชีวิตในบั้นปลายของเขาเกือบ 12 ปี ในการรวบรวมงานเขียนต่าง ๆ ของมาร์กซมาร์กซ์มาเรียบเรียงโดยเฉพาะหนังสือเรื่องทุน เล่มที่ 2 และเล่มที่ 3 ซึ่งมากทำค้างไว้ออกเผยแพร่
 
== ผลงาน ==
นอกจากการรวบรวมงานของมาร์กซแล้วมาร์กซ์แล้ว เองเงิลส์แองเจิลส์เองก็มีงานค้นคว้าเรื่องสำคัญของเขาเองออกเผยแพร่หลายเล่ม งานเขียนที่เด่นเลื่องชื่อ เช่น
* Anti Duhring (พ.ศ. 2421)
* Ludwig Feuerbach and the End of Classical German Philosophy (พ.ศ. 2427)
เส้น 37 ⟶ 51:
* สัญชัย สุวังบุตร สารานุกรมประวัติศาสตร์ยุโรปฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่ม E-F
 
[[หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2363|ฟรีดริช อเงงิเลส์แองเจิลส์]]
[[หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2438|ฟรีดริช อเงงิเลส์แองเจิลส์]]
[[หมวดหมู่:นักลัทธิคอมมิวนิสต์|ฟรีดริช อเงงิเลส์แองเจิลส์]]
[[หมวดหมู่:นักปรัชญาชาวเยอรมัน|ฟรีดริช อเงงิเลส์แองเจิลส์]]
[[หมวดหมู่:นักสังคมวิทยา|ฟรีดริช อเงงิเลส์แองเจิลส์]]
 
[[ar:فريدريك أنجلز]]