ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปูนปลาสเตอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TXiKiBoT (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ar:قصارة
Loong~thwiki (คุย | ส่วนร่วม)
ปูนพลาสเตอร์ แก้เป็น ปูนปลาสเตอร์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2525
บรรทัด 1:
{{ปรับรูปแบบ}}
'''ปูนพลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์''' ({{lang-en|Plaster หรือ Plaster of Paris}}) คือปูนที่ใช้ทำประโยชน์หลายอย่างเช่น วัสดุก่อสร้างและได้มีการค้นพบมากว่า 9,000 ปีแล้ว โดยได้มีการค้นพบที่คาบสมุทร[[อนาโตเลีย]]และ[[ซีเรีย]] แต่ที่เรารู้จักดีก็คือการนำมาเป็นวัสดุก่อสร้างในการทำ[[ปิรามิด]]ของชาว[[อียิปต์]] เมื่อประมาณ 5,000 ปี โดยมีการบันทึกถึงขั้นตอนการผลิต (นำ gypsum มาเผาแล้วบดให้เป็นผง และนำไปผสมกับน้ำเมื่อต้องการใช้งาน) ใช้เป็นวัสดุเชื่อมต่อระหว่างก้อนหินแต่ละก้อนในการสร้างปิรามิด และได้ถูกใช้งานมาเรื่อยๆ ตามหน้าประวัติศาสตร์อันยาวนานของวงการก่อสร้าง จนกระทั่งในช่วงศตวรรษที่ 20 ปูนพลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์เริ่มที่จะนำมาใช้อย่างกว้างขวางนอกอุตสาหกรรมก่อสร้าง อาทิเช่น การนำมาใช้ในอุตสาหกรรมเซรามิก (สุขภัณฑ์, เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร, เครื่องประดับ), ในวงการทันตกรรม, การหล่อโลหะ, เครื่องประดับ, เครื่องมือการแพทย์, เครื่องสำอางและอีกหลายๆ คุณสมบัติหลักที่ทำให้นิยมใช้งานก็คือความสามารถที่จะแข็งตัวได้รูปตามแม่พิมพ์ที่ใช้ โดยที่มีการเปลี่ยนแปลงขนาดเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
 
ปูนพลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์ (Plaster of Paris) หรือที่เรียกทางเคมีว่า Calcium sulfate hemihydrates ได้มาจากการนำแร่ยิบซั่ม (Gypsum) ซึ่งมีอยู่ทั่วไปในธรรมชาติมาให้ความร้อน (ประมาณ 150 °C) เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเคมีดังสมการ
 
:พลังงาน + CaSO<sub>4</sub>·2 H<sub>2</sub>O → CaSO<sub>4</sub> . 1/2 H<sub>2</sub>O + 1.5 H<sub>2</sub>O
บรรทัด 14:
โดยจะปลดปล่อยพลังงานออกมาในรูปของพลังงานความร้อน
ในกระบวนการผลิตปูนพลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์ จะได้ปูนพลาสเตอร์ออกมาปูนปลาสเตอร์ออกมา 2 ชนิดคือ Beta (&beta;) plaster และ Alpha (&alpha;) plaster ซึ่งจะให้คุณสมบัติที่แตกต่างกันไปทั้งในเรื่องของความแข็งแรง และการดูดซึม/คายน้ำของตัวปูนพลาสเตอร์เองปูนปลาสเตอร์เอง ในการผลิตเพื่อออกมาจำหน่าย ทางผู้ผลิตเองจะมีการผสมระหว่างปูนทั้งสองชนิดนี้ในอัตราส่วนต่างๆ กัน รวมถึงอาจมีสารเคมีบางอย่างผสมรวมไปด้วยเพื่อให้ได้ปูนพลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์ที่มีคุณสมบัติตรงตามความต้องการใช้งานแต่ละชนิด อาทิเช่น ปูนพลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์สำหรับการทำ Case mould จะต้องมีการแข็งแรง ทนต่อการขยายตัวได้ดี และไม่ต้องการคุณสมบัติในการดูด/คายน้ำ ปูนพลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์สำหรับทำแม่พิมพ์งานหล่อน้ำดิน ต้องการคุณสมบัติที่ดีของการดูด/คายน้ำ แต่ไม่ต้องการเรื่องความแข็งแรงมากนัก และ ปูนพลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์สำหรับทำแม่พิมพ์งาน Ram press ต้องการความทนทางต่อแรงอัดสูง เป็นต้น
 
[[หมวดหมู่:วัสดุก่อสร้าง]]