ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งูหลามปากเป็ด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19:
*''P. c. breitensteini''<br>*''P. c. brongersmai''
}}
'''งูหลามปากเป็ด''' เป็น[[งู]]ที่เล็กที่สุดใน[[สกุล (ชีววิทยา)|สกุล]] ''Python'' อันเป็นสกุลเดียวกับ[[งูหลาม]]และ[[งูเหลือม]] มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Python curtus'' เป็นงูไม่มีพิษ มีลำตัวที่อ้วน หนา กว่างูหลามและงูเหลือม แต่มีหางที่สั้นแลดูไม่สมส่วน และมีลวดลายที่แปลกออกไป มีหลายหลากสี ทั้งน้ำตาล แดง เหลือง ส้ม หรือ เขียว โดยงูแต่ละตัวจะมีสีสันและลวดลายต่างกันออกไป ขนาดโตเต็มที่ได้ประมาณ 1.50 [[เมตร]]
 
พบใน[[ประเทศไทย]]ตั้งแต่ [[จ.ประจวบคีรีขันธ์]]ลงไป จนถึง[[มาเลเซีย]]และ[[สิงคโปร์]] เป็นงูที่ไม่ค่อยขึ้นต้นไม้ มักจะซุ่มรออาหารตามพื้นดินที่เฉอะแฉะใกล้แหล่งน้ำ ที่โดยมากเป็น[[สัตว์เลือดอุ่น]]ขนาดเล็ก งูหลามปากเป็ดวางไข่ครั้งละประมาณ 10-15 ฟอง มีสาย[[พันธุ์ย่อย]] 3 สายพันธุ์ คือ ''P. c. curtus'' และ, ''P. c. breitensteini'' พบใน[[บอร์เนียว]] และ ''P. c. brongersmai'' พบใน[[เพนนิซูล่า]] [[มาเลเซีย]]และ[[สิงคโปร์]] เป็นสัตว์คุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า [[พ.ศ. 2535]] นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงของผู้ที่นิยมสัตว์เลื้อยคลานเพราะมีความสวยงาม
 
{{งู}}