ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าหญิงชามส์ ปาห์ลาวี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
| สีอักษร = #8f5f12
| ภาพ = ไฟล์:Princess_Shams_Pahlavi.jpg
| พระนามเต็ม = เจ้าหญิงชามชามส์ ปาห์ลาวี
| ฐานันดร =
| ประสูติ = [[18 ตุลาคม]] [[ค.ศ. 1917]] <br /> [[File:Reza shah flag.GIF|20px]] [[เตหะราน|กรุงเตหะราน]] [[ประเทศอิหร่าน]]
บรรทัด 16:
}}
 
'''เจ้าหญิงชามชามส์ ปาห์ลาวี''' ([[ภาษาเปอร์เซีย|เปอร์เซีย]]:شمس پهلوی) (ประสูติ [[18 ตุลาคม]] [[ค.ศ. 1917]]-สิ้นพระชนม์ [[29 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1996]]) พระราชธิดาใน[[พระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี]] กับ[[สมเด็จพระราชินีทัดจ์ อัล-โมลุก]] และทรงเป็นพระเชษฐภคินีใน[[พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี]] ชาห์องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ปาห์ลาวี และระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ใน[[ประเทศอิหร่าน]]
 
== พระประวัติ ==
'''เจ้าหญิงชามชามส์ อัล โมลุก ปาห์ลาวี''' ประสูติเมื่อวันที่ [[18 ตุลาคม]] [[ค.ศ. 1917]] ณ [[เตหะราน|กรุงเตหะราน]] [[ประเทศอิหร่าน]] ทรงพระราชธิดาพระองค์แรกใน[[พระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี]] กับ[[สมเด็จพระราชินีทัดจ์ อัล-โมลุก]] พระองค์มีพระอนุชา 2 พระองค์ และพระขนิษฐา 1 พระองค์ คือ [[พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี|มกุฎราชกุมารโมฮัมหมัด เรซา]] [[เจ้าหญิงอัชราฟ ปาห์ลาวี]] และ[[เจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 1]]
 
ในระหว่างการเสด็จประพาส[[ทวีปยุโรป]]ใน [[ค.ศ. 1936]] เจ้าหญิงชามชามส์ พร้อมด้วยสมเด็จพระราชินีทัดจ์ อัล-โมลุก และพระขนิษฐา ได้ประทับอยู่ใน[[เบอร์ลิน|กรุงเบอร์ลิน]] [[ประเทศเยอรมัน]] โดย[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] ผู้นำในขณะนั้น ได้ให้ความเป็นมิตรแก่พระราชวงศ์อิหร่านขณะที่พำนักอยู่ โดยประเทศอิหร่านในขณะนั้น เป็นหนึ่งในกว่า 10 ประเทศ ที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับประเทศเยอรมัน โดยมีการรับคนจำนวนมากเพื่อมาทำงานในอุตสาหกรรมตั๋วเดินทาง และศิลปศาสตร์การบิน
 
== เสกสมรส ==
เจ้าหญิงชามชามส์ได้เสกสมรสครั้งแรกกับนายเฟเรย์ดัน แจม (Fereydoun Jam) บุตรของนายมะห์มุด แจม (Mahmood Jam) อดีตนายกรัฐมนตรีของอิหร่าน ภายใต้การคลุมถุงชนของพระราชบิดา แต่ภายหลังจากการสวรรคตของพระราชบิดา เจ้าหญิงชามชามส์ และพระสวามีจึงได้หย่าขาดจากกัน
 
ขณะที่[[พระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี]] พระราชบิดา ถูกบังคับให้สละราชสมบัติ เจ้าหญิงชามชามส์พร้อมด้วยพระราชวงศ์จำนวนหนึ่งได้เสด็จลี้ภัยใน[[พอร์ตหลุยส์|กรุงพอร์ตหลุยส์]] [[ประเทศมอริเชียส]] และ[[โจฮันเนสเบิร์ก|เมืองโยฮันเนสเบิร์ก]] [[ประเทศแอฟริกาใต้]]ตามลำดับ โดยขณะที่เจ้าหญิงชามได้ประทับนอกพระราชอาณาจักร เจ้าหญิงชามชามส์ได้เขียนบันทึกประจำวัน และได้ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์เอตตาลาอัต (Ettela'at) ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์รายเดือน ในปี [[ค.ศ. 1948]]
 
เจ้าหญิงชามชามส์ที่ปราศจากพระยศได้เสกสมรสอีกครั้งกับนายเมหร์ดาด ปาหร์บอด และเจ้าหญิงได้เสด็จไปประทับในสหรัฐอเมริกาในปี [[ค.ศ. 1945]] จนถึง [[ค.ศ. 1947]] อย่างไรก็ตาม ภายหลังเจ้าหญิงชามชามส์ และพระสวามีได้เสด็จนิวัตประเทศอิหร่านในกรุงเตหะราน ก่อนที่จะเกิดเหตุความวุ่ยวายที่เมืองอะบาดาน ต่อมาเจ้าหญิงชามได้เปลี่ยนไปนับถือ[[ศาสนาคริสต์]][[นิกายโรมันคาทอลิก]] ในปี [[ค.ศ. 1940]] โดยพระสวามี และพระโอรสธิดาก็หันมานับถือศาสนาคริสต์ตามเจ้าหญิง
 
หลังการก่อรัฐประหารในสมัยของ[[พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี]] ซึ่งเป็นพระอนุชาของพระองค์ เจ้าหญิงชามชามส์ได้มีความขัดแย้งกับ[[เจ้าหญิงอัชราฟ ปาห์ลาวี]] ซึ่งเป็นพระขนิษฐา ในเรื่องของการเป็นผู้จัดการมรดก และสมบัติมากมายที่ได้มาจากพระราชบิดา ในปลายปี [[ค.ศ. 1960]] เจ้าหญิงได้พระราชวังโมราวิด ในเมืองการาจ ใกล้เมืองเมหร์ชาหร์ และพระตำหนักวิลล่า เมห์ราฟารีน ในเมืองคาเลาส์ จังหวัดมาซานดาราน
 
เจ้าหญิงชามส์ เคยเสด็จเยือนประเทศไทยเป็นการส่วนพระองค์ เมื่อวันที่ [[15 เมษายน|15]]-[[19 เมษายน]] [[พ.ศ. 2507]] โดยพระยาศัลวิธานนิเทศสมุหราชพระมณเฑียร เป็นผู้แทนพระองค์รับเสด็จ ณ [[สนามบินดอนเมือง]] และประทับในพระที่นั่งบรมพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง ก่อนที่จะเสด็จไปประพาสท่องเที่ยวในเมืองเชียงใหม่ โดย[[พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] ทรงโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าหญิง และพระสวามี พร้อมด้วยบุคคลในคณะ เฝ้าทูลละอองพระบาท ณ [[พระตำหนักภูพิงค์ราชนิเวศน์]]<ref>[http://www.ohmpps.go.th/searchsheetlist.php?get=1&doc_type=&imageField_x=1&imageField_y=1&keyword=%CB%EC&ps_edate_day=&ps_edate_month=&ps_edate_year=&ps_sdate_day=&ps_sdate_month=&ps_sdate_year=&quick_mode=advance&quick_phase=AND&quick_type=sheet&offset=200 สำนักราชเลขาธิการ]</ref>
 
== สิ้นพระชนม์ ==
ภายหลังจากการยกเลิกระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชสมบูรณาญาสิทธิราชย์ แล้วเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นสาธารณรัฐอิสลาม เจ้าหญิงชามชามส์ได้เสด็จลี้ภัย โดยประทับในสหรัฐอเมริกา และภายหลังเจ้าชามชามส์ได้สิ้นพระชนม์ลงด้วย[[โรคมะเร็ง]]เมื่อวันที่ [[29 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1996]] สิริรวมพระชนมายุได้ 79 พรรษา
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==