ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลูปัส อีริทีมาโตซัส ทั่วร่าง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TobeBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: uk:Системний червоний вовчак
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15:
| MeshID = D008180
}}
'''โรคลูปัส''' ({{lang-en|Systemic Lupus Erythematosus - SLE}}) ขณะนี้ยังไม่มีชื่อโรคเป็นภาษาไทยที่เหมาะสมเนื่องจากเป็น​โรคที่มีอาการเกิดขึ้นกับหลายระบบ​หรือหลายอวัยวะในร่างกายเป็น โรคที่นี้เกิดจากภูมิคุ้มกันของร่างกายเกิดการเปลี่ยนแปลงไป โดยแทนที่จะทำหน้าที่ต่อสู้กับสิ่งแปลกปลอม​หรือเชื้อโรคจากภายนอกร่างกายกลับมาต่อต้าน หรือทำลายเซลล์ของอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย ก่อให้เกิดการอักเสบได้เกือบทุกอวัยวะของร่างกาย​ อวัยวะที่เกิดการอักเสบได้บ่อย ได้แก่ [[ผิวหนัง]], [[ข้อ]], [[ไต]], ระบบ[[เลือด]], ระบบ[[ประสาท]] เป็นต้น​เป็นต้น ​การอักเสบนี้จะเป็นต่อเนื่องจนเป็นโรคเรื้อรังชนิดหนึ่ง โดย

คนไทยหลายคนรู้จักโรคนี้ชาวบ้านส่วนใหญ่รู้จักกันในชื่อ '''"โรคพุ่มพวง"''' เนื่องจาก [[พุ่มพวง ดวงจันทร์]] นักร้องลูกทุ่งชื่อดังได้เสียชีวิตจากโรคนี้{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}}
 
== สาเหตุ ==
===พันธุกรรม===
* '''[[ยีน]]''' จากการศึกษาพบว่ามียีนบางตัวที่ก่อให้เกิดโรคนี้โดยตรง หรือมียีนบางลักษณะเมื่อเกิดปฏิกิริยากับปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมบางอย่างจะก่อให้เกิดโรคนี้
* '''ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม''' เช่นคนไข้[[โรคหัวใจ]]บางรายที่กินยา Procainamide หรือคนไข้[[ความดันโลหิตสูง]]บางรายที่กินยา Hydralazine ก็มีอาการของโรคเอสแอลอี แต่เมื่อหยุดยาโรคก็หายไป นอกจากนี้[[ฮอร์โมน]]เพศหญิง ทำให้ผู้ป่วยบางรายมีอาการของโรคเอสแอลอีช่วงก่อนมี[[ประจำเดือน]]หรือขณะตั้ง[[ครรภ์]]
===ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม===
* '''[[เอนไซม์]]''' นักวิทยาศาสตร์พบว่าเอนไซม์ Dnase-1 มีส่วนทำให้เกิดโรคเอสแอลอี เอนไซม์ตัวนี้ทำหน้าที่ทำลายสายป่าน DNA หลังจากการตายของเซลล์ จากการทดลองในหนูพบว่าหากการทำลายสายป่าน DNA ขัดข้องร่างกายจะเกิดปฏิกิริยาต่อต้านระบบภูมิคุ้มกัน และขณะเดียวกันในการศึกษาผู้ป่วยโรคเอสแอลอี 10 ราย พบว่ามี 4 รายที่เอนไซม์ Dnase-1 ทำงานน้อยลง
* '''ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม''' เช่นคนไข้[[โรคหัวใจ]]บางรายที่กินยา Procainamide{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}} หรือคนไข้[[ความดันโลหิตสูง]]บางรายที่กินยา Hydralazine{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}} ก็มีอาการของโรคเอสแอลอี แต่เมื่อหยุดยาโรคก็หายไป นอกจากนี้[[ฮอร์โมน]]เพศหญิง]]{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}} ทำให้ผู้ป่วยบางรายมีอาการของโรคเอสแอลอีช่วงก่อนมี[[ประจำเดือน]]หรือขณะตั้ง[[ครรภ์]]
* '''[[​กรรมพันธุ์]]''' พบว่าผู้ป่วยโรคเอสแอลอี 10% มีพ่อแม่หรือญาติป่วยเป็นโรคนี้ด้วย และพบเพียง 5% ของเด็กที่เป็นโรคนี้มีแม่ป่วยเป็นโรคเอสแอลอี
===เอนไซม์===
* '''[[เอนไซม์]]''' นักวิทยาศาสตร์พบว่าเอนไซม์ Dnase-1 มีส่วนทำให้เกิดโรคเอสแอลอี{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}} เอนไซม์ตัวนี้ทำหน้าที่ทำลายสายป่าน DNA หลังจากการตายของเซลล์ จากการทดลองในหนูพบว่าหากการทำลายสายป่าน DNA ขัดข้องร่างกายจะเกิดปฏิกิริยาต่อต้านระบบภูมิคุ้มกัน และขณะเดียวกันในการศึกษาผู้ป่วยโรคเอสแอลอี 10 ราย พบว่ามี 4 รายที่เอนไซม์ Dnase-1 ทำงานน้อยลง
​===กรรมพันธุ์===
* '''[[​กรรมพันธุ์]]''' พบว่าผู้ป่วยโรคเอสแอลอี 10% มีพ่อแม่หรือญาติป่วยเป็นโรคนี้ด้วย และพบเพียง 5% ของเด็กที่เป็นโรคนี้มีแม่ป่วยเป็นโรคเอสแอลอี
 
== ปัจจัยเสริม ==