ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xithy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Xithy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 24:
}}
 
'''รา''' หรือเชื้อราเป็นจุลินทรีย์ เป็นเซลล์ยูแคริโอตที่อยู่ในอาณาจักรฟังไจเห็ดรา มีโครโมโซมเพียงชุดเดียว (haploid)มีผนังเซลล์ ส่วนใหญ่ประกอบด้วยไคติน (chitin)ไม่มีคลอโรฟิล
ดำรงชีพแบบ saprophyte คือ หลั่ง[[เอนไซม์]]ออกนอกเซลล์ เพื่อย่อยสลายสารอินทรีย์ที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่และซับซ้อนให้ได้เป็นโมเลกุลที่เล็กที่สุดแล้วจึงดูดซับเข้าไปภายในเซลล์ เชื้อรามีความหลากหลายมาก พบทั้งที่สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น ยีสต์ เส้นใย (hypha) และ ดอกเห็ด (mushroom) เส้นใยหรือไฮฟา(hypha)เมื่อรวมกลุ่มจำนวนมาก เรียกว่า mycelium <ref name= "Alexopoulose, C."> Alexopoylos, C.J and C.W. Mims. 1979.Introductory Mycology 3 rd ed. John Wiley & Sons., New York. 632pp.</ref>
เส้นใยแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ
* เส้นใยแบบมีผนังกั้น (septate hypha) สามารถเห็น[[นิวเคลียส]]และ[[ไซโตพลาสซึม]]เป็นช่องๆได้อย่างชัดเจน
บรรทัด 50:
* Ascomycota หรือ แซค ฟังไจ เป็นฟังไจที่พบมากที่สุด โดยส่วนใหญ่พวกหลายเซลล์ในกลุ่มนี้ เป็นเห็ดที่มีลักษณะเป็นรูปถ้วย มี[[การสร้างเซลล์สืบพันธุ์]]ในถุง แอสคัส ภายในมี แอสโคสปอร์ เช่น [[ยีสต์]](yeast)
* Basidiomycota หรือคลับ ฟังไจ สร้างเซลล์สืบพันธุ์ บนอวัยวะที่คล้ายกระบอง(Basidium) ภายในมี Basidiospore เป็นราที่ผลิต[[บาสิดิโอสปอร์]] (basidiospore) ซึ่งจะงอกเป็นสายที่เป็นแฮพลอยด์ เรียก primary mycelium จากนั้นผนังของไมซีเลียมจะมารวมกันได้เป็นเซลล์ที่มีนิวเคลียสสองอัน แต่ละอันเป็น n เรียกว่า[[ไดคาริโอต]] (dikaryote) เส้นใยที่เป็นไดคาริโอตนี้จะรวมกันเป็นโครงสร้างที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์หรือ tertiary mycelium ซึ่งเป็นส่วนที่เรียกว่าดอกเห็ด เมื่อจะมีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ นิวเคลียสทั้งสองอันรวมเข้าเป็น 2n จากนั้นจึงแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสเพื่อสร้างสปอร์อีก ส่วนใหญ่เป็นเห็ดทั้งที่กินได้และเป็นพิษสามารถกินได้ เช่น [[เห็ดหอม]] [[เห็ดนางฟ้า]] เป็นต้น
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:เห็ดรา]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/รา"