ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดิซ่งเหรินจง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TobeBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: vi:Tống Nhân Tông
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ru:Жэнь-цзун (династия Сун); ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 6:
| พระปรมาภิไธย =
| วันพระราชสมภพ = [[30 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 1553]]
| วันสวรรคต = [[30 เมษายน]] [[พ.ศ. 1606]]<br /><small>(สิริพระชนม์ 53 พรรษา)</small>
| พระอิสริยยศ = พระมหากษัตริย์แห่งจักรวรรดิจีน
| พระราชบิดา = [[จักรพรรดิเจินจงแห่งราชวงศ์ซ่ง|ซ่งเจินจง]]
บรรทัด 27:
พระนามแต่ประสูติว่า "เจ้าโช้วอี้" ({{zh-all|c=趙受益|p=Zhào Shòu Yì}}) ซึ่งต่อมาได้รับพระราชทานใหม่เป็น "เจ้าเจิน" ({{zh-all|c=趙禎|p=Zhào Zhēn}}) ชื่อ "เจ้า" ({{zh-all|c=趙|p=Zhào}}) นั้นเป็นชื่อพระสกุล ส่วนพระนามที่ทรงได้รับการเฉลิมเมื่อเสด็จดับขันธ์แล้วว่า "สมเด็จพระจักรพรรดิที่เทียนฟ่าเต้าจี่กงฉวนเต๋อเชินเวินเชิ้งหวู่รุ้ยเจ๋อหมิงเสี้ยว" ({{zh-all|c=體天法道極功全德神文聖武睿哲明孝|p=Tǐ Tiān Fǎ Dào Jí Gōng Quán Dé Shén Wén Shèng Wǔ Ruì Zhé Míng Xiào}})
 
ถึงแม้สมเด็จพระจักรพรรดิเหรินจงจะทรงราชย์เป็นเวลากว่าสี่สิบปี แต่ก็ไม่ทรงเป็นที่รู้จักมากนัก นอกจากนี้ ถึงแม้รัชกาลนี้จะเป็นช่วงที่จีนมีอิทธิพล อำนาจ และความมั่นคงยอดเยี่ยม แต่ก็เป็นช่วงที่บรรดา[[ประเทศราช]]เริ่มเอาใจออกห่างซึ่งจะส่งผลต่อความมั่นคงของราชวงศ์นี้ในอีกร้อยกว่าปีข้างหน้า ทั้งนี้ สืบเนื่องมาจากนโยบายด้านการต่างประเทศของรัชกาลก่อนหน้าที่เป็นไปในทาง[[สันตินิยม]]ค่อนข้างมาก ทำให้ด้านการทหารด้อยคุณภาพลงตามลำดับ และ[[ราชวงศ์เซี่ย|ราชวงศ์เซี่ยตะวันตก]]ซึ่งเป็นเจ้าประเทศราชหนึ่งได้ฉกฉวยโอกาสนี้รุกรานชายแดนจีนเป็นระยะ ๆ เมื่อสมเด็จพระจักรพรรดิเหรินจงเสวยราชย์จึงมีพระราชกฤษฎีกาให้ปรับปรุงด้านการทหารขนานใหญ่ และรัฐบาลจีนยังได้ใช้เงินจำนวนมหาศาลผูกมิตรกับ[[ราชวงศ์เหลียว]] เจ้าประเทศราชอีกหนึ่งเจ้าซึ่งเป็นปรปักษ์ต่อราชวงศ์เซี่ยตะวันตก เพื่อประกันความมั่นคงของจักรวรรดิ<ref>Zhenoao Xu, W. Pankenier, Yaotiao Jiang, David W. Pankenier. (2000). ''East-Asian Archaeoastronomy: Historical Records of Astronomical Observations of China, Japan and Korea.'' n.p. : CRC Press. ISBN 90569930290-5699-302-X.</ref> นโยบายดังกล่าวของรัฐบาลจีนมีค่าใช้จ่ายมากมาย ยังให้เกิดการขึ้นภาษีอย่างสูงลิ่ว กลายเป็นยุคที่เรียกว่า "ข้าวยากหมากแพง" อย่างแท้จริง โดยเฉพาะชนชั้นล่างนั้นต้องอดอยากปากแห้งตลอดปีตลอดชาติ อนึ่ง ยังส่งผลให้เกิดการต่อต้านรัฐบาลเป็นระยะ ๆ และรัฐบาลเองก็มีสภาพเหมือนคนป่วยหนักในกาลต่อมาด้วย
 
ขุนนางที่โดดเด่นในรัชกาลนี้ เป็นต้นว่า '''[[เปาบุ้นจิ้น]]''' ข้าราชการพลเรือนผู้รักและดำรงความบริสุทธ์ยุติธรรมอย่างยิ่ง ซึ่งต่อมาได้รับการยกย่องให้เป็นเทพเจ้าและสัญลักษณ์แห่งความยุติธรรม
บรรทัด 48:
 
{{จักรพรรดิราชวงศ์ซ่ง}}
{{เกิดปี|1553}}{{ตายปี|1606}}
 
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์ซ่งเหนือ]]
[[หมวดหมู่:จักรพรรดิราชวงศ์ซ่ง]]
[[หมวดหมู่:กษัตริย์ที่ครองราชย์ตั้งแต่เยาว์วัย]]
{{เกิดปี|1553}}{{ตายปี|1606}}
 
[[bpy:সম্রাট রেনজং (সং রাজবংশ)]]
เส้น 62 ⟶ 63:
[[mr:रनजाँग]]
[[pt:Renzong]]
[[ru:Жэнь-цзун (династия Сун)]]
[[vi:Tống Nhân Tông]]
[[zh:宋仁宗]]