ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จิตรกรรมฝาผนัง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Idioma-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: io:Fresko, lt:Freska
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ป้ายเตือนปีคศ}}
[[ภาพ:Sistine jonah.jpg|thumb|220px|right|จิตรกรรมฝาผนังใน[[ชาเปลซิสติน]]ที่ [[นครรัฐวาติกัน|วาติกัน]], [[โรม]] [[ประเทศอิตาลี]]]]
[[ภาพ:Ferapontov.jpg|220px|thumb|จิตรกรรมฝาผนังโดยดิโอนิเซียส (Dionisius) เล่าเรื่อง[[นักบุญนิโคลัส]]นิโคลัส]]
[[ภาพ:Dante Domenico di Michelino Duomo Florence.jpg|thumb|220px|right|จิตรกรรมฝาผนัง จาก[[มหากาพย์]] “[[ไตรภูมิดานเต|ไตรภูมิดานเต]]” ของ[[ดานเต]]โดยโดเมนิโค ดิ มิเคลลิโน (Domenico di Michelino) ที่[[มหาวิหารฟลอเรนซ์]]]]
[[ภาพ:Mariae Verkuendigung Fuchstal Fresko Magnifikat 1.JPG|thumb|220px|right|จิตรกรรมฝาผนังจาก[[บาวาเรีย]][[ประเทศเยอรมนี]]]]
บรรทัด 8:
[[ภาพ: chola_fresco.png|thumb|220px|จิตรกรรมฝาผนังโคลาของนักรำที่ Brihadisvara Temple ประมาณ ค.ศ. 1100]]
 
'''จิตรกรรมฝาผนัง''' (ภาษาอังกฤษ: Fresco) คือภาพเขียนหลายชนิดที่เขียนบนปูนบนผนังหรือเพดาน คำว่า “fresco” มาจาก[[ภาษาอิตาลี]] “affresco” ซึ่งมาจากคำว่า “fresco” หรือ “สด” รากศัพท์มาจาก[[ภาษาเยอรมนีเยอรมัน]]
 
==ชนิดของจิตรกรรมฝาผนัง==
===จิตรกรรมปูนเปียก===
จิตรกรรมฝาผนังแบบปูนเปียก (Buon fresco) เป็นวิธีที่ใช้สีผสมน้ำแล้ววาดลงบนปูนปลาสเตอร์ หรือ lime mortar ที่ปาดไว้บางๆบนผนังที่ภาษาอิตาลีเรียกว่า intonacoว่า“[[อินโทนาโค]]” เมื่อทาสีลงไปแล้วก็ไม่จำเป็นต้องใช้อะไรทาเคลือบให้สีติดเพราะปูนปลาสเตอร์จะมี[[ปฏิกิริยาเคมี]]กับสีติดปูน เมื่อทาสีจะซึมลงไปในปูนที่ยังชื้นพอปูนแห้งก็จะมีปฏิกิริยาเคมีกับอากาศทำให้สีติดผนังได้อย่างถาวร ผู้ที่ใช้วิธีสร้างเขียนจิตรกรรมฝาผนังโดยใช้วิธีนี้คือไอแซ็ค มาสเตอร์ที่ชั้นบนของ[[มหาวิหารเซนต์ฟรานซิสแห่งอาซิซิ]]ที่[[อาซิซิ]] ประเทศอิตาลี
 
===จิตรกรรมปูนแห้ง===
จิตรกรรมฝาผนังแบบปูนแห้ง (A Secco) จะตรงกันข้ามคือจะวาดบนปูนแห้ง (“Secco” ในภาษาอิตาลีแปลว่า แห้ง) วิธีนี้จิตรกรจะผสมสีกับสารที่ทำให้ติดผนังเช่นไข่ (ที่เรียกว่า “tempera”[[เทมเพอรา]]”) กาว หรือ น้ำมัน เพื่อให้สียึดติดกับผนัง สิ่งที่ควรจะสังเกตคือความแตกต่างระหว่างจิตรกรรมปูนแห้งที่วาดทับบนจิตรกรรมปูนเปียกซึ่งเป็นวิธีที่ใช้กันทั่วไปตั้งแต่[[ยุคกลาง]]เป็นต้นมา และจิตรกรรมปูนแห้งที่วาดบนผนังเปล่า
 
ตามปกติแล้วจิตรกรรมปูนเปียกจะทนทานกว่าจิตรกรรมปูนแห้งที่มาวาดทับภายหลังเพราะจิตรกรรมปูนแห้งจะติดผนังที่ไม่เรียบได้ดีกว่าผนังที่เรียบ บางครั้งจิตรกรจะใช้วิธีหลังนี้เพื่อเติมรายละเอียดหรือเพราะบางสีไม่สามารถทำได้จากวิธีแรกเพราะปฏิกิริยาเคมีของปูนที่มีด่างโดยเฉพาะสีน้ำเงิน เสื้อคลุมที่เป็นสีน้ำเงินของจิตรกรรมปูนเปียกจะมาเติมด้วยวิธีหลังให้สีเข้มขึ้นเพราะทั้งสีน้ำเงิน azurite และสีน้ำเงิน lapis“[[ลาพิส ลาซูไล]]” lazuliจะออกมาไม่สวยเมื่อใช้ปูนเปียก<ref>All this section - Ugo Procacci, in ''Frescoes from Florence'',pp. 15-25 1969, Arts Council, London (จิตรกรรมฝาผนังจากฟลอเรนซ์)</ref>
 
จากการวิจัยพบว่าจิตรกรสมัย[[ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา|เรอเนซองส์]]ตอนต้นมักจะใช้วาดบนปูนแห้งเพื่อจะให้ได้สีที่หลากหลายกว่าปูนเปียก งานที่ทำด้วยวิธีนี้ในสมัยแรกๆ สูญหายไปเกือบหมด แต่งานที่ทำบนผิวผนังที่ทำให้หยาบเพื่อให้สีติดจะยังคงเหลืออยู่บ้าง แต่สิ่งที่เป็นอันตรายต่อจิตรกรรมฝาผนังมากที่สุดก็เห็นจะเป็นความชื้น
 
===จิตรกรรมปูนชื้น===
วิธีที่สามเรียกว่า จิตรกรรมปูนชื้น หรือ “mezzo-fresco” วิธีนี้จิตรกรจะวาดรูปบนผนังปูนที่ใกล้จะแห้ง-ตามที่อิกนาซิโอ พ็อซโซอธิบายไว้เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 16 ว่าเพื่อจะพอให้สีซึมลงไปในเนื้อปูนเพียงเล็กน้อย พอมาถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 วิธีนี้ก็ใช้แทนที่จิตรกรรมปูนเปียกเป็นส่วนใหญ่ จิตรกรที่ใช้วิธีนี้ก็มี[[จิแอนบัททิสตาโอวานนิ ทิอาโพโลบัตติสตา (Gianbattista Tiepolo)ติเอโปโล]]
 
ระหว่างสามวิธีนี้ งานที่ทำโดยวิธีปูนแห้งล้วนจะทำได้เร็วกว่าวิธีอื่น ถ้ามีอะไรผิดก็แก้ง่ายและความแตกต่างของสีที่ทาลงไปกับเวลาที่สีแห้งจะน้อยที่สุดเมื่อเทียบกับวิธีอื่น
 
==กลวิธี==
ในการสร้างจิตรกรรมปูนเปียก ช่างจะฉาบบริเวณที่จะวาดภาพด้วย “arriccio” ที่ทำให้ผนังภายใต้สาก แล้วทิ้งไว้ให้แห้งอีกสามสี่วันก่อนที่จะร่างภาพที่จะวาดลงบนผนังที่ฉาบไว้ โดยใช้สีฝุ่นแดงที่เรียกว่า “sinopia” ภาพที่ร่างก็เรียกว่า “sinopia” เช่นเดียวกัน ต่อมาการร่างใช้วิธีวาดบนกระดาษก่อนที่จะมาทาบบนผนัง ตามขอบรูปก็จะปรุเป็นรอยด้วยวัสดุที่มีความแหลมแล้วทาบกับผนังแล้วใช้ประคบที่บรรจุด้วยผงดำๆ ที่เรียกว่า “spolvero” ตบบนตัวร่าง พอเสร็จบนผนังก็จะเป็นรอยร่างคร่าวๆจากฝุ่นที่ตบเอาไว้ ถ้าผนังที่จะวาดมีรูปอยู่แล้วช่างก็จะสกัดผิวออกเป็นระยะๆ เพื่อให้ปูนที่จะฉาบเกาะติด วันที่จะวาดรูปช่างก็จะฉาบปูนบางๆ เรียบบนผนังที่เรียกว่า “[[อินโทนาโค]]” ที่เตรียมไว้ การฉาบก็จะฉาบเฉพาะบริเวณที่จะทำเสร็จในวันนั้น การซ่อนรอยต่อของปูนก็อาจจะทำโดยใช้ขอบรูปของตัวแบบ หรือทิวทัศน์ การทาสีมักจะเริ่มจากส่วนที่สูงที่สุดของภาพ บริเวณที่ทาสีเสร็จในวันหนึ่งเรียก “giornata” เราจะศึกษาขั้นตอนการวาดภาพได้จากตะเข็บหรือรอยต่อจากส่วนหนึ่งไปอีกส่วนหนึ่ง
 
จิตรกรรมปูนเปียกจะเป็นวิธีที่ค่อนข้างยากเพราะจิตรกรมีเวลาวาดเพียงสิบสองชั่วโมงก่อนที่ปูนจะแห้ง ตามปกติแล้วจิตรกรจะรอชั่วโมงหนึ่งหลังจากฉาบก่อนที่จะเริ่มวาดแล้ววาดไปจนราวสองชั่วโมงก่อนที่ปูนจะแห้ง พอปูนแห้งวิธีวาดปูนเปียกก็ต้องหยุดไม่มีการแก้ ปูนที่ยังวาดไม่เสร็จก็ต้องเซาะออก เพื่อที่จะได้ฉาบใหม่ ถ้ามีอะไรผิดบางครั้งก็ต้องลอกปูนที่วาดไว้ออกทั้งหมด หรือมาใช้วิธีวาดบนปูนแห้งแก้ภายหลัง
 
ถ้าเราดูจิตรกรรมฝาผนังบนผนังขนาดใหญ่เราอาจจะเห็นบริเวณที่วาดอาจจะแบ่งได้ราวสิบถึงยี่สิบบริเวณหรืออาจจะมากกว่านั้นก็ได้ รอบตะเข็บที่เคยซ่อนไว้อย่างแนบเนียนก็อาจจะเด่นชัดขึ้นจนบางครั้งก็มองเห็นได้จากข้างล่าง นอกจากนั้นรอบตะเข็บมักจะแต่งให้เรียบร้อยด้วยวิธีวาดปูนแห้งซึ่งจะหลุดออกมาตามกาลเวลา
บรรทัด 36:
 
==จิตรกรรมฝาผนังในประวัติศาสตร์==
งานจิตรกรรมฝาผนังแรกที่สุดสร้างเมื่อ 1500 ก่อนคริสต์ศักราชที่พบที่[[เกาะครีต]] (Crete)ใน ที่[[ประเทศกรีซ]] ชิ้นที่สำคัญที่สุดเรียกว่า “The Toreador” ซึ่งเป็นเรื่องราวของพิธีศักดิ์สิทธิ์ที่คนกระโดดข้ามหลังวัว งานชิ้นอื่นๆที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน ก็มีพบในบริเวณ[[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน|เมดิเตอร์เรเนียน]]โดยเฉพาะใน [[ประเทศอียิปต์]] และ[[ประเทศโมร็อกโก]] งานจิตรกรรมฝาผนังที่พบมากในประเทศอียิปต์ก็เป็นงานที่พบในสุสานที่ฝังศพและจะใช้วิธีวาดบนปูนแห้ง แต่ที่มาของจิตรกรรมฝาผนังเหล่านี้ยังเป็นที่สันนิษฐานกันอยู่
 
นักประวัติศาสตร์บางท่านก็เชื่อว่าจิตรกรจากครีตอาจจะถูกส่งไปวาดตามที่ต่างเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนทางการค้าหรืออาจจะเป็นการส่งเสริมความสำคัญของศิลปะลักษณะนี้ซึ่งถือว่าเป็นศิลปะสำคัญของสมัยนั้นก็ได้
 
นอกจากนั้นจิตรกรรมฝาผนังยังเห็นได้จาก[[สถาปัตยกรรมกรีก]] (Ancient Greece architecture) แต่ที่ยังเหลืออยู่ทุกวันนี้เกือบหาไม่ได้ ที่มีก็พบทางตอนใต้ของอิตาลีที่เพสตุม (Paestum) ที่แมนมันยาเกรเซีย (Magna Graecia) ซึ่งเป็นอาณานิคมกรีก จิตรกรรมที่พบเมื่อปี ค. ศ. 1968 ก็อยู่ภายในที่ฝังศพวาดมาตั้งแต่ 470 ปีก่อนคริสต์ศักราชที่เรียกว่า “ที่ฝังศพของนักดำน้ำ” (Tomb of the Diver) ฉากที่วาดมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มากเพราะเป็นการแสดงให้เห็นถึงชีวิตความเป็นอยู่ของคนสมัยนั้น อีกภาพหนึ่งแสดงให้เห็นคนกลุ่มหนึ่งนอนเอนอย่างพบประสังสรรค์กัน อีกภาพหนึ่งเป็นภาพชายหนุ่มกระโดดลงไปในทะเล
 
จิตรกรรมฝาผนังที่สร้างในสมัย[[จักรวรรดิโรมัน]]เช่นที่[[ปอมเปอี]] และ
[[Roman Empire|Roman]] wall paintings, such as those at [[ปอมเปอี]] และ [[เฮอร์คิวเลเนียม (Herculaneum)]] เป็น จิตรกรรมแบบปูนเปียก
 
 
จิตรกรรมฝาผนังของ[[ศาสนาอิสลาม|อิสลาม]] ซึ่งหาชมได้ยากพบที่ Qasr Amra ซึ่งเป็นปราสาทกลางทะเลทรายที่ Umayyads วาดเมื่อ คริสต์ศตวรรษที่ 8
 
สมัยปลาย[[จักรวรรดิโรมัน]] เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 1 ถึง 2 จิตรกรรมฝาผนังมักจะพบภายในที่ที่เก็บศพแบบ catacomb [[สุสานรังผึ้ง]]ภายใต้ [[โรม|กรุงโรม]]
และ [[ประเทศไซปรัส]] ครีต อีฟิซุส (Ephesus) คะพาโดเซีย (Capadocia) และ อันติออก (Antioch) จิตรกรรมฝาผนังของโรมันเป็นแบบปูนเปียกบนปูนปลาสเตอร์สี นอกจากนั้นจิตรกรรมฝาผนังของ[[คริสต์ศาสนา]]ยังพบได้ที่วัดโกเรเม (Churches of Goreme) ที่[[ประเทศตุรกี]]
 
เมื่อปลายยุคกลางและในสมัย[[ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา|เรอเนซองส์]]เป็นสมัยที่จิตรกรรมฝาผนังรุ่งเรืองที่สุดโดยเฉพาะใน[[ประเทศอิตาลี]]ซึ่งยังนิยมใช้ศิลปะลักษณะนี้ตกแต่งในสิ่งก่อสร้างทางศาสนาและการปกครอง
 
[[Andrea Palladio|อันเดรีย พาลลาดิโอ]] (Andrea Palladio) [[สถาปนิก]]คนสำคัญของอิตาลีเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 16 สร้างคฤหาสน์ไว้หลายแห่งที่ดูเรียบภายนอกแต่ภายในตกแต่งด้วยจิตรกรรมฝาผนังอย่างวิจิตร
 
== จิตรกรรมฝาผนังของ[[ลาตินอเมริกา]] ==
บรรทัด 61:
จิตรกรรมฝาผนังที่เพดานและผนังถ้ำที่อจันตาวาดไว้ระหว่าง 200 ปีก่อนคริสต์ศตวรรษถึงราวค. ศ. 600 พบเมื่อค. ศ. 1819 เป็นเรื่อง[[พุทธชาดก]] เรื่องราวที่วาดเป็นฉากๆ แต่ไม่ต่อเนื่องกัน
 
จิตรกรรมฝาผนังที่โคลา[[โจฬะ]] (Chola) พบเมื่อ ค. ศ. 1931 ภายในวัด Brihadisvara
 
==ตัวอย่างจิตรกรรมฝาผนังในประเทศอิตาลี==
บรรทัด 73:
ภาพ:Birth of St Mary in Santa Maria Novella in Firenze by Domenico Ghirlandaio.jpg|งานผนังที่<br>วัดซานตามาเรียโนเวลลา<br>โดย[[โดเมนนิโค เกอแลนเดา]]
ภาพ:Leonardo da Vinci (1452-1519) - The Last Supper (1495-1498).jpg|[[พระกระยาหารค่ำมื้อสุดท้าย]] โดย [[เลโอนาร์โด ดา วินชี]] ที่มิลาน
ภาพ:Perugino Keys.jpg|พระเยซูให้กุญแจแก่[[นักบุญปีเตอร์]] โดย [[เปียโตร เปอรูเปรูจิโน]] (Pietro Perugino)
ภาพ:Fra angelico luca signorelli orvieto.jpg|[[มหาวิหารออร์เวียตโตออร์วิเอโต]] (Orvieto Duomo) โดย [[ลูคา ซินยอเรลลิ]]
ภาพ:Baptistry of Parma Ceiling.jpg|จิตรกรรมฝาผนังภายใต้โดมภายใน[[หอศีลจุ่ม]]ที่[[พาร์มา]]
ภาพ:4382 - Milano, Duomo - Deambulatorio - An. sec. XV - Crocifisso con vergine e santi - Foto Giovanni Dall'Orto - 14-July-2007.jpg|พระเยซูถูกตรึงกางเขนที่[[มหาวิหารมิลาน]]
ภาพ:God2-Sistine Chapel.png|เพดานที่ [[เพดานชาเปลซิสตินชาเปล]] (Sistine Chapel) โดย[[ไมเคิล แอนเจโล]]
ภาพ:IMG 5800 - Milano - Ossario di San Bernardino agli ossi - Affresco - Foto Giovanni Dall'Orto - 17 febr. 2007.jpg|จิตรกรรมฝาผนังแบบบาโรกภายใต้โดมที่ซานเบอร์นาดิโน (San Bernardino alle Ossa) ที่มิลาน
</gallery>