ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การวิจัยดำเนินการ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งไม่เป็นสารานุกรมด้วยสจห.
6A~thwiki (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
คำว่าการวิจัยดำเนินงานและ[[วิทยาการบริหารจัดการ]] นั้นปกติจะใช้ในความหมายใกล้เคียงกัน โดยวิทยาการบริหารจัดการนั้นปกติจะมีเฉพาะเจาะจงกับปัญหาทางด้านการบริหาธุรกิจมากกว่า ส่วนการวิจัยดำเนินงานจะเกี่ยวกับ[[วิศวกรรมอุตสาหการ]]ซึ่งมองปัญหาเชิง[[วิศวกรรม]] โดยใช้เทคนิคโออาร์เป็นเครื่องมือในการแก้ปัญหาเหล่านั้น
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยดำเนินงานคือ [[สถิติ]](statistics) [[การหาค่าเหมาะที่สุด]] (optimization) [[การสโทแคสติก]] (stochastic)]] (การเฟ้นสุ่ม) ทฤษฎี[[แถวคอย]](queuing)]] [[ทฤษฎีเกม]](Game's theory)]] และ [[การจำลอง ]](simulation)]] และเนื่องจาก OR มีการใช้การคำนวณเชิงคอมพิวเตอร์จึงมีความเกี่ยวเนื่องกับ[[วิทยาการคอมพิวเตอร์]] และ นักวิจัยดำเนินงานปกติจะต้องพัฒนาหรือปรับปรุง[[ซอฟต์แวร์]]เอง
 
การวิจัยดำเนินงานมีจุดเด่นตรงที่ความสามารถในการพัฒนาระบบทั้งระบบ ไม่เฉพาะเจาะจงกับการแก้ไขปัญหาย่อยเพียงอย่างเดียว โดยนักวิจัยดำเนินงานจะแก้ปัญหาโดยพิจารณาว่า วิธีหรือเทคนิคใดที่เหมาะสมกับธรรมชาติของระบบนั้น ๆ พิจารณาเป้าหมายของการปรับปรุง และ เงื่อนไขเประสิทธิภาพเชิงเวลา และโดยมากแล้วปัญหาทางเทคนิคของการวิจัยดำเนินงานเองมักไม่สามารถแก้ได้ด้วยเทคนิคของการวิจัยดำเนินงานเท่านั้น ต้องอาศัยเทคนิคอื่นมาร่วมแก้ไขปัญหาด้วย
บรรทัด 18:
เช่น เลือกเส้นทางเดินรถ ในการขนส่งน้ำมันกระจายไปตามจังหวัดต่างๆให้ครบทั้งภาค ต้องเดินทางไปเส้นทางไหน
ที่จะทำให้ระยะทางรวมน้อยที่สุด ประหยัดน้ำมันรถ และเวลาได้มากที่สุด
 
 
เนื่องจากการหาคำตอบด้านการวิจับดำเนินงานใช้เวลานาน มีการคำนวณที่สลับซับซ้อน
ปัจจุบันมีการพัฒนาซอฟท์แวร์ด้าน Operations Research เป็นที่แพร่หลาย ซึ่งช่วยประหยัดเวลาในการหาคำตอบไปได้มาก
ซอฟท์แวร์ที่เป็นสากล ได้แก่[[ AMPL]], Lindo , MPL , OPL, CPLEX
ซึ่งมีซอฟท์แวร์ให้ดาวน์โหลดฟรี สำหรับ student version และผู้ที่ศึกษาด้านนี้ ควรอย่างยิ่งที่ต้องศึกษาเพิ่มเติมค้นคว้า ใช้งานซอฟท์แวร์ให้ได้
จะมีประโยชน์มากในการพัฒนา ประยุกต์ในอนาคต มหาวิทยาลัยในสหรัฐ ค่อนข้างนิยมใช้ CPLEX และ AMPL
เนื่องจากการประมวลผลได้เร็ว และมีตัวอย่างโมเดลให้ศึกษามากพอ