ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกอิชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SieBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: hu:Gésa
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: ar:غايشا; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 1:
[[ภาพไฟล์:Japan-Kyoto-Geisha.jpg|thumb|200px| หญิงสาวแต่งกายเป็น'''ไมโกะ''' (เกอิชาฝึกหัด) ใน[[เกียวโต]] [[ประเทศญี่ปุ่น]]]]
 
'''เกอิชา''' {{ญี่ปุ่น|芸者|geisha|เกชะ|ศิลปิน}} เป็น[[อาชีพ]]หนึ่งของสตรี[[ประเทศญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]ในสมัยก่อน ถือว่าเป็นผู้ที่ชำนาญทาง[[ศิลปะ]] และให้ความเพลิดเพลินบันเทิงใจ เป็นเสมือนผู้คอยต้อนรับและปรนนิบัติแขก เกอิชามีอยู่แพร่หลายอย่างมากในญี่ปุ่น ในช่วง[[คริสต์ศตวรรษที่ 18]] และ[[คริสต์ศตวรรษที่ 19|19]] เมื่อ [[ค.ศ. 1920]] มีจำนวนเกอิชาถึง 80,000 คน ส่วนในปัจจุบันแม้ว่าจะยังมีอาชีพเกอิชา แต่จำนวนค่อยๆ ลดลงอย่างต่อเนื่อง สำหรับเกอิชาฝึกหัดจะเรียกว่า '''ไมโกะ''' {{ญี่ปุ่น|舞子|maiko}}
บรรทัด 7:
อาชีพของเกอิชานั้น พัฒนาขึ้นมาจาก ''ไทโคะโมะชิ'' หรือ ''โฮคัง'' ซึ่งคล้ายกับพวกตลกหลวงในราชสำนัก เกอิชาในสมัยแรกนั้นล้วนเป็นผู้ชาย ส่วนผู้หญิงที่ทำหน้าที่อย่างเดียวกันนั้น จะเรียกกันว่า "อนนะ เกชะ" (女芸者) หรือ เกอิชาหญิง แต่ในปัจจุบัน เกอิชาเป็นหญิงเท่านั้น
 
[[ภาพไฟล์:CalGeisha.svg|thumb|100px|left|อักษรญี่ปุ่น “เกชะ” หมายถึง ศิลปิน]]
 
เดิมนั้นหญิงที่จะทำอาชีพเกอิชาจะได้รับการฝึกอบรมตั้งแต่เด็ก สำนักเกอิชามักจะซื้อตัวเด็กหญิงมาจากครอบครัวที่ยากจน แล้วนำมาฝึกฝนเลี้ยงดูโดยตลอด ในช่วงวัยเด็ก พวกเขาจะทำงานเป็นหญิงรับใช้ เพราะผู้ช่วยเกอิชารุ่นพี่ในสำนัก ถือเป็นส่วนหนึ่งของการฝึกฝนด้วยเช่นกัน และเพื่อชดใช้กับค่าเลี่ยงดูและการอบรมสั่งสอน การสอนและฝึกฝนอาชีพที่ยาวนานเช่นนี้ นักเรียนจะอาศัยอยู่ในบ้านของครูผู้ฝึก ช่วยทำงานบ้าน สังเกต และช่วยครู และเมื่อชำนาญเป็นเกอิชาแล้ว สุดท้ายก็จะเลื่อนขึ้นไปสู่ตำแหน่งครูผู้ฝึกอบรมต่อไป การฝึกอบรมนี้จะต้องใช้เวลานานหลายปีทีเดียว
บรรทัด 15:
เมื่อหญิงสาวได้เข้ามารับการฝึกฝนเป็นไมโกะ หรือเกอิชาฝึกหัด ก็จะเริ่มติดตามเกอิชารุ่นพี่ไปยัง[[โรงน้ำชา]] งานเลี้ยง และการสังสรรค์ต่างๆ ที่เป็นสภาพแวดล้อมการทำงานจริงของเกอิชา ทำให้ได้ประสบการณ์ทำงานจริง และมีความชำนาญขึ้นเรื่อยๆ
 
[[ภาพไฟล์:Gion.jpg|thumb|300px|ตำบลกิอง แหล่งเกอิชาในเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น]]
 
"เกอิชานั้นไม่ใช่[[โสเภณี]]" แม้ว่าในอดีตจะมีการขายพรหมจารีอย่างถูกต้อง และเกอิชาก็ไม่จำเป็นต้องมีเพศสัมพันธ์กับลูกค้า แม้ว่าลูกค้าจะจ่ายเงินซื้อเพื่อการนี้ก็ตาม เกอิชากับโสเภณี มีความแตกต่างพอสมควร โดยสังเกตอย่างง่ายจากการแต่งตัว โดยที่โสเภณีจะมีสายโอบิผูกชุดที่สามารถแกะได้จากข้างหน้า เพื่อความสะดวกในถอดชุดออกออก เครื่องประดับของเหล่าหญิงโสเภณีมีความงดงาม หรูหรา ฟู่ฟ่า ในขณะที่เกอิชามีผ้าโอบิผูกจากข้างหลังตามชุดกิโมโนทั่วไป เครื่องประดับนั้นจะเรียบง่ายแต่แสดงออกถึงความสวยงามตามธรรมชาติ ในรูปแบบของศิลปะได้อย่างดีทีเดียว
บรรทัด 39:
 
{{เรียงลำดับ|กเกอิชา}}
 
[[หมวดหมู่:ประเทศญี่ปุ่น]]
[[หมวดหมู่:อาชีพ]]
เส้น 45 ⟶ 46:
{{Link FA|simple}}
 
[[ar:غيشاغايشا]]
[[bg:Гейша]]
[[br:Geisha]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เกอิชา"