ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กวี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ลิงก์ข้ามภาษาด้วยบอต
บรรทัด 12:
# '''จินตกวี''' หมายถึง กวีที่แต่งโดยความคิดของตนได้แก่ วรรณคดีประเภทที่เกิดจากจินตนาการของผู้แต่งหรือกวีเอง เช่น เรื่อง[[พระอภัยมณี]] ของ[[สุนทรภู่]] เรื่อง[[มัทนะพาธา]] ของ[[รัชกาลที่ 6]] เรื่อง[[เห็นแก่ลูก]]ของ "พระขรรค์เพชร" เป็นต้น
# '''สุตกวี''' หมายถึง กวีที่แต่งโดยได้ฟังมา ได้แก่ เรื่องที่แต่งตามที่เล่าสืบกันมา อาทิ [[เสือโคคำฉันท์]] และ [[สมุทรโฆษคำฉันท์]] เป็นต้น
# '''อรรถกวี''' คือ กวีที่แต่งตามความจริง ได้แก่ เรื่องที่แต่งตามเหตุการณ์หรือหลักความเป็นจริง เช่น เรื่อง [[ลิลิตยวนพ่าย]]และ[[ลิลิตตะเลงพ่าย]] เป็นต้น
# '''ปฏิภาณกวี''' คือ กวีที่แต่งบทกวีได้สดๆ ทันทีโดยไม่ต้องเตรียมมาก่อนได้แก่ เรื่องที่แต่งด้วยไหวพริบที่คิดขึ้นเองโดยทันทีทันใด เช่น โคลงที่[[ศรีปราชญ์]]พูดกับนายประตู เป็นต้น
<br/>
 
== ความหมายอื่นๆ ==
ในปัจจุบัน คำว่า "กวี" มีความหมายที่กว้างมากขึ้น ไม่เพียงแต่หมายถึงผู้แต่งร้อยกรองเพียงอย่างเดียว หากยังหมายถึง ผู้มีฝีมือในการแต่งวรรณกรรมในรูปแบบอื่นๆ เช่น นวนิยาย เรื่องสั้น วรรณกรรมมุขปาฐะ (แต่งปากเปล่า ด้วยการขับ ร้อง หรือเล่า โดยไม่บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร) เช่น [[กวีซีไรต์]] มีทั้งผู้แต่งร้อยแก้ว และร้อยกรอง ขณะที่เรียกผู้ชำนาญในการแต่งเพลง ว่า [[คีตกวี]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กวี"