ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุโมงค์เขาพังเหย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''อุโมงค์เขาพังเหย''' เป็นอุโมงค์ทางรถไฟลอด 1 ใน 7 แห่งของประเทศไทย และเป็นอุโมงค์ทางรถไฟลอดเพียงแห่งเดียวของ[[รายชื่อสถานีรถไฟ สายตะวันออกเฉียงเหนือ|เส้นทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ]] (แต่ไม่ได้อยู่ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ตั้งอยู่ในเขตตำบลหนองรึ [[อำเภอลำสนธิ]] [[จังหวัดลพบุรี]] อยู่ระหว่าง[[สถานีรถไฟโคกคลี]] กับ[[สถานีรถไฟช่องสำราญ]] บริเวณกิโลเมตรที่ 248.800-249.031 ห่างจากกรุงเทพประมาณ 248 กิโลเมตร<ref>http://www.thaitransport-photo.net/u_mong/khaophuenghuey.html</ref>
{{สั้นมาก}}
 
อุโมงค์เขาพังเหย เป็นอุโมงค์ทางรถไฟลอดบนเส้นทางรถไฟสาย[[สถานีรถไฟลำนารายณ์|ลำนารายณ์]]-เขาพังเหย-[[สถานีรถไฟบัวใหญ่|บัวใหญ่]] (ความยาว 166 กิโลเมตร) เริ่มเปิดเดินรถเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ [[19 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2510]]
'''อุโมงค์เขาพังเหย''' เป็นอุโมงค์ทางรถไฟลอด 1 ใน 7 แห่งของไทย และเป็นอุโมงค์ทางรถไฟลอดเพียงแห่งเดียวของ[[รายชื่อสถานีรถไฟ สายตะวันออกเฉียงเหนือ|เส้นทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ]] (แต่ไม่ได้อยู่ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ตั้งอยู่ในเขตตำบลหนองรึ [[อำเภอลำสนธิ]] [[จังหวัดลพบุรี]] ระหว่าง[[สถานีรถไฟโคกคลี]] กับ[[สถานีรถไฟช่องสำราญ]] บริเวณกิโลเมตรที่ 248.800-249.031 ห่างจากกรุงเทพประมาณ 248 กิโลเมตร<ref>http://www.thaitransport-photo.net/u_mong/khaophuenghuey.html</ref>
 
อุโมงค์เขาพังเหย เป็นอุโมงค์รถไฟบนเส้นทางรถไฟสาย[[สถานีรถไฟลำนารายณ์|ลำนารายณ์]]-เขาพังเหย-[[สถานีรถไฟบัวใหญ่|บัวใหญ่]] (ความยาว 166 กิโลเมตร) เริ่มเปิดเดินรถเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ [[19 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2510]]
 
 
== ตัวอุโมงค์ ==
 
ภายในอุโมงค์เขาพังเหย ภายในก่อสร้างเป็นผนังคอนกรีต ใช้หมอนรถไฟทำด้วยไม้เนื้อแข็งและ พร้อมด้วยรางรถไฟ 70 เอ (18.00 เมตร) ความยาวของตัวอุโมงค์ 230.60 เมตร
 
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{อุโมงค์รถไฟของไทย}}
 
[[หมวดหมู่:อุโมงค์รถไฟในประเทศไทย|ข]][[หมวดหมู่:จังหวัดลพบุรี]]