94,496
การแก้ไข
ล (วังเทวะเวศม์ ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น วังเทวะเวสม์) |
|||
{{วิกิประเทศไทย}}
[[ภาพ:วังเทวะเวสม์.jpg|thumb|250px|ตำหนักใหญ่ วังเทวะเวสม์]]
'''วังเทวะ
ตำหนักใหญ่ วังเทวะ
อาคารย่อย ประกอบด้วยตึก 7 หลัง ออกแบบโดยเอมิลโย โจวันนี กอลโล (E.G. Gollo) สถาปนิกชาวอิตาเลียน ผู้ดูแลการก่อสร้าง[[พระที่นั่งอนันตสมาคม]]
*ตึกหม่อมจันทร์
*ตำหนักพระโอรสพระธิดา ประสูติแต่หม่อมพุก
*ตำหนักหม่อมเจ้าปรีดิเทพพงษ์ - (ปัจจุบันขายให้ [[บัณฑูร ล่ำซำ|นายบัณฑูร ล่ำซำ]] ซึ่งมีศักดิ์เป็นหลานตาของหม่อมเจ้าปรีดิเทพพงษ์ ไปสร้างใหม่ที่ "บ้านสามญาณ" ใกล้[[วัดญาณสังวราราม]] ตั้งชื่อว่า '''เรือนเทวะ
*เรือนแพ
ปัจจุบัน อาคารทั้ง 7 หลัง คงเหลือเพียง 2 หลัง คือ ตึกหม่อมลม้าย ตึกหม่อมปุ่น และเรือนแพ
หลังจากสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ สิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. 2466 [[กระทรวงสาธารณสุข]]ได้ซื้อวังเทวะเวสม์จากทายาท และได้ใช้เป็นที่ตั้งกระทรวงตั้งแต่ พ.ศ. 2493 เมื่อหน่วยงานของกระทรวงสาธารณสุขมากขึ้นและคับแคบ ประกอบกับ[[ธนาคารแห่งประเทศไทย]]ซึ่งอยู่ที่[[วังบางขุนพรหม]]ติดกันทางทิศใต้ ต้องการขยับขยาย จึงได้มีการเจรจาแลกพื้นที่กัน โดยธนาคารแห่งประเทศไทยได้ซื้อที่ดิน 400 ไร่ ในจังหวัดนนทบุรี พร้อมทั้งสร้างอาคารให้ แลกกับการเข้าไปเป็นเจ้าของพื้นที่ทั้งหมดของวังเทวะเวสม์ เมื่อ พ.ศ. 2530
ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ดำเนินการบูรณะซ่อมแซมโบราณสถานในวังเทวะเวสม์ตั้งแต่ พ.ศ. 2538 ได้บูรณะเรือนแพ และตำหนักใหญ่ แล้วเสร็จ เปิดเป็นพิพิธภัณฑ์ มีห้องแสดงพระประวัติของบุคคลสำคัญ และห้องแสดงวิธีอนุรักษ์โบราณสถานวังบางขุนพรหมและวังเทวะเวสม์ในเชิงวิชาการด้านสถาปัตยกรรม [[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]]ทรงพระกรุณา เสด็จมาเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดวังเทวะเวสม์ เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2547
==อ้างอิง==
|
การแก้ไข