ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักกาเดเมียดีซันลูกา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
''ดูองค์การคล้ายคลึงกันที่ [[สมาคมเซนต์ลูค]]''
{{ใช้ปีคศ|width=280px}}
[[Imageไฟล์:Luke evangelist Guercino.JPG|thumb|280px |ภาพนักบุญลูควาดภาพพระแม่มารี โดย [[เกอร์ชิโน]] (Guercino)]]
'''สถาบันเซนต์ลูค''' ([[ภาษาอิตาลี]]: '''Accademia di San Luca'''; [[ภาษาอังกฤษ]]: '''Academy of Saint Luke''') เป็นสมาคมจิตรกรของโรมที่ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1593 ภายใต้การนำของ[[เฟเดริโค ซุคคาริ]] (Federico Zuccari) เพื่อเป็นการยกระดับงานของศิลปินจากการเป็นเพียง “ช่าง” ผู้ที่ร่วมก่อตั้งอีกสองคนคือ[[จิโรลาโม มูซิอาโน]] (Girolamo Muziano) และ[[เปียโร โอลิเวียริ]] (Pietro Olivieri)<ref>[http://www.italycyberguide.com/Art/artistsarchite/olivieri.htm Cyberguide entry on Pietro Olivieri]</ref> พระสันตะปาปาผู้เป็นผู้อุปถัมภ์มีอิทธิพลต่อการควบคุมของสถาบันในช่วงร้อยปีแรกของการก่อตั้ง สถาบันได้รับชื่อจาก[[นักบุญลูคอีแวนเจลลิส]] ที่ตำนานกล่าวกันว่าเป็นผู้วาดภาพเหมือนของ[[พระแม่มารี]] ฉะนั้นนักบุญลูคจึงกลายมาเป็นนักบุญผู้พิทักษ์จิตกรของ[[สมาคมเซนต์ลูค]] (Guild of Saint Luke) ที่กลายมาเป็น “สถาบันแห่งชาติแห่งเซนต์ลูค” (Accademia Nazionale di San Luca)
 
บรรทัด 9:
ในคริสต์ทศวรรษ 1620 [[สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 8]] ก็เพิ่มสิทธิให้แก่สถาบันในการตัดสินว่าผู้ใดมีสิทธิที่จะเป็นศิลปินในกรุงโรมได้ ต่อมาสถาบันตกอยู่ภายใต้การอุปถัมภ์ของหลานของพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 8 คาร์ดินัล[[ฟรานเชสโค บาร์แบรินิ (ผู้อาวุโส)]] (Francesco Barberini (seniore)) ผู้แต่งตั้งให้[[จิโอวานนิ ฟรานเชสโค โรมาเนลลิ]] (Giovanni Francesco Romanelli) เป็นผู้อำนวยการในปี ค.ศ. 1638 <ref>Haskell, p 53.</ref> ต่อมาในปี ค.ศ. 1633 พระสันตะปาปาเออร์บันที่ 8 ทรงมอบให้สถาบันมีอำนาจในการเก็บภาษีจากศิลปินทุกคนรวมทั้งผู้ค้าขายศิลปะและมีเอกสิทธิ์ในการจ้างการเขียนภาพสำหรับโครงการสำหรับสารธารณชน สิทธิหลังนี้มีผู้ต่อต้านกันมากและไม่มีผลในการบังคับเท่าใดนัก<ref> Haskell, p 18.</ref>.
 
ในช่วงเวลานี้พระสันตะปาปาก็มีอำนาจในการควบคุมและการเลือกผู้นำของสถาบัน นักวิจารณ์สมัยใหม่กล่าวว่าเป็นสถาบันที่โดยทั่วไปมีจุดประสงค์ที่จะเพิ่มการศึกษาให้แก่จิตรกรแต่ตามความเป็นจริงแล้วเป็นที่ควบคุมการแสดงออกทางศิลปะโดยสถาบันศาสนา<ref>according to Peter Robb, biographer of the Baroque artist Caravaggio</ref> ผู้อำนวยการของสถาบันมาจากจิตรกรคนสำคัญๆ ที่รวมทั้ง[[โดเม็นนิโค แซมเปียริ]] และ[[จานโลเรนโซ เเบร์นินีแบร์นินี]] แต่ก็มีจิตรกรคนสำคัญคนอื่นๆ ที่มิได้รับการยอมรับเข้าเป็นสมาชิก
 
ปัญหาความขัดแย้งอื่นๆ ภายในสถาบันก็รวมทั้งกรณี[[เปียโตร ดา คอร์โทนา]] (Pietro da Cortona) ที่[[อันเดรอา ซาชชิ]] (Andrea Sacchi) มีความเห็นเกี่ยวกับจำนวนคนที่เหมาะสมที่ควรจะปรากฏในภาพ หรือกรณี “[[กลุ่มบัมโบชเชียนติ]]” (Bamboccianti)<ref>[http://links.jstor.org/sici?sici=0004-3079(198112)63%3A4%3C611%3AADFSRS%3E2.0.CO%3B2-8]</ref> [[จิโอวานนิ เบลโลริ]]ให้ปาฐกถาสำคัญในหัวเรื่องจิตรกรรมที่สถาบัน เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 จิตรกร[[มาร์โค เบเนฟิอัล]] (Marco Benefial) วิจารณ์สถาบันในฐานะคนภายนอก, ได้รับเข้าเป็นสมาชิก และต่อมาถูกไล่ออกเพราะวิจารณ์สถาบันในฐานะคนภายใน