ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเซ็นเซอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ลิงก์ข้ามภาษาด้วยบอต
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 20:
การเซ็นเซอร์ที่เข้มงวดมีให้เห็นตั้งแต่กลุ่มคนในสมัยประเทศ[[คอมมิวนิสต์]] รัฐมนตรีต่างๆ เป็นผู้ควบคุมเหล่านักเขียน ผลผลิตทางวัฒนธรรมเหล่านั้นแสดงให้เห็นถึงการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ความต้องการของรัฐ ในสมัยนั้นพรรคการเมืองเป็นผู้ตรวจเช็คและควบคุมก่อนที่จะเผยแพร่ ในสมัยของ[[โจเซฟ สตาลิน]] (Stalinist period) แม้กระทั่งการพยากรณ์อากาศยังสามารถเปลี่ยนแปลงได้ถ้าหากรัฐบาลต้องการบอกว่าพระอาทิตย์จะไม่ส่องสว่างในวันที่ [[1 พฤษภาคม]] ภายใต้การปกครองของ [[นิโคไล เชาเชสกู|ประธานาธิบดีนิโคไล เชาเชสกู]]แห่ง[[โรมาเนีย]] การรายงานสภาพอากาศก็ถูกควบคุมอุณหภูมิจะได้ไม่ดูว่าขึ้นลงหรือเปลี่ยนแปลงมากจนถึงจุดที่ต้องออกคำสั่งหยุดงาน ใน[[สหภาพโซเวียต]]เราไม่สามรถพบนักข่าวอิสระได้จนกระทั่ง[[มิฮาอิล กอร์บาชอฟ]]ได้ก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำแห่งสหภาพโซเวียต การรายงานข่าวทุกชิ้นจะต้องถูกควบคุมโดยพรรคคอมมิวนิสต์หรือองค์การที่เกี่ยวข้อง ปราฟดาคือหนังสือพิมพ์มีที่เอกสิทธิ์ผูกขาดและมีบทบาทมากในสหภาพโซเวียต หนังสือพิมพ์ต่างชาตินั้นมีให้เห็นแต่จะต้องเป็นฝ่ายเดียวกับพรรคคอมมิวนิสต์เท่านั้น
 
การครอบครองและการใช้เครื่องทำสำเนาล้วนถูกควบคุมเพื่อยับยั้งการผลิตและการเผยแพร่ของ[[หนังสือต้องห้าม]]ในโซเวียต (samizdat) หนังสือและนิตยสารที่ตีพิมพ์เองจะผิดกฎหมาย การครอบครองแม้กระทั่งหนังสือเพียงเล่มเดียวของ [[อันเดร ซินยาฟสกี]] ถือเป็นอาชญากรรมอันร้ายแรงและอาจมีการตรวจค้นจาก[[หน่วยตำรวจลับของสหภาพโซเวียต|หน่วยตำรวจลับแห่งสหภาพโซเวียต]]หรือเคจีบี ผลงานอื่นๆ ที่ไม่ได้สนับสนุนรัฐบาลต่างถูกตีพิมพ์ในต่างประเทศ [[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]ซึ่งยังใช้กฎหมายทางการเมืองแบบคอมมิวนิสต์ว่าจ้างตำรวจ[[อินเทอร์เน็ต]]กว่าสามหมื่นคน เพื่อตรวจสอบการใช้อินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์เสิร์ชเอนจิ้นเอนจินที่เป็นที่นิยม เช่น [[กูเกิล]] และ [[ยาฮู!]] และในประเทศ[[อิรัก]]ภายใต้การปกครองของ[[ซัดดัม ฮุสเซน]] มีการเซ็นเซอร์ข่าวสารเช่นเดียวกับในประเทศโรมาเนียภายใต้[[นิโคไล เชาเชสกู|ประธานาธิบดีนิโคไล เชาเชสกู]]แต่มีความรุนแรงทางการเมืองมากกว่า ส่วนสื่อในประเทศ[[คิวบา]]ดำเนินการภายใต้การตรวจการของพรรคคอมมิวนิสต์ หน่วยงานการกำหนดทิศทางของการปฏิวัติ (Department of Revolutionary Orientation) ซึ่งทำหน้าที่พัฒนาและประสานงานกลยุทธ์ในการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ซึ่งการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตถือเป็นสิ่งผิดกฎหมาย
 
== การเซ็นเซอร์ความลับของรัฐและการป้องการความสนใจ ==
ในช่วงภาวะสงครามมีการเซ็นเซอร์อย่างเปิดเผย ทั้งนี้เพื่อป้องกันการปล่อยข้อมูลบางอย่างที่อาจะป็นประโยชน์แก่ศัตรู โดยทั่วไปเป็นการเก็บข้อมูลเรื่องเวลาและสถานที่ หรือถ่วงเวลาการปล่อยข้อมูลจนกระทั่งแน่ใจว่าไม่มีประโยชน์ต่อกองทัพฝ่ายตรงข้าม เช่น จุดประสงค์การปฏิบัติการ ในทางศีลธรรมอาจะเห็นไปในทางต่างกัน ผู้ที่สนับสนุนการกระทำนี้เห็นว่าการปล่อยข้อมูลด้านยุทธวธีก่อให้เกิดความเสี่ยงอย่างมากมายต่อความตายของผู้คนและมีโอกาสเสี่ยงต่อการแพ้สงครามของทั้งหมด ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] จดหมายซึ่งเขียนโดยทหาร[[อังกฤษ]]จะถูกส่งผ่านกระบวนกองเซ็นเซอร์ ซึ่งประกอบไปด้วยเจ้าหน้าที่ที่ทำหน้าที่คอยอ่านจดหมายและใช้ปากกกามารคเกอร์สีดำขีดข้อความที่ไม่เหมาะสมทิ้งก่อนจะส่งจดหมายออกไป ซึ่งมีวลีหนึ่งที่เป็นที่นิยมในสมัย[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] “หลุดปาก เรือจม” (Loose lips sink ships) เป็นการกระตุ้นให้แต่ละคนมีความระมัดระวังเมื่อต้องพูดเกี่ยวกับข้อมูลอันเปราะบางทางการเมือง ตัวอย่างของ[[นโยบายเก็บกวาด]]ของสหภาพโซเวียตภายใต้การนำของ[[โจเซฟ สตาลิน]] ซึ่งมีปรากฎปรากฏไว้บนภาพถ่ายและเผยแพร่เป็นการประณามการประหารชีวิตของนโยบายของสตาลิน แม้ภาพถ่ายเก่าๆ จะถูกเก็บไว้แล้วแต่ภาพเหล่านั้นยังอยู่ในความทรงจำของสาธารณะ และเป็นสัญลักษณ์ของระบบสตาลินและระบอบการปกครองแบบ[[เผด็จการเบ็ดเสร็จ]] ซึ่งการเซ็นเซอร์ส่วนใหญ่มีจุดประสงค์เพื่อปกป้องผู้มีอำนาจหรือบุคคลบางคนหรือการสนใจของสื่อมวลชนต่อเหยื่อการลักพาตัวเด็กถือเป็นเรื่องที่ช่วยไม่ได้
 
== การเซ็นเซอร์ของสื่อเพื่อการศึกษา ==
บรรทัด 29:
 
== การเซ็นเซอร์ในดนตรีและ[[วัฒนธรรมสมัยนิยม]] ==
การเซ็นเซอร์ดนตรีนั้นมีรูปแบบต่างกันออกไปตามแต่ละประเทศ, ศาสนา, ระบบการศึกษา, ครอบครัวและกฎหมาย ซึ่งในกรณีส่วนใหญ่จะละเมิดสนธิ[[สัญญาสิทธิมนุษยชนนานาชาติ]] นอกจากการเซ็นเซอร์สื่อลามก ภาษา และความรุนแรง [[ภาพยนตร์]]บางเรื่องถูกเซ็นเซอร์เพราะมีเนื้อหาในเชิงเปลี่ยนแปลงทัศนคติและความถูกต้องทางการเมือง เพื่อหลีกเลี่ยงการขัดต่อจริยธรรมของคนส่วนใหญ่ในสังคมหรือหลีกเลี่ยงการต่อต้านคุณค่าในเชิงศิลปะและประวัติศาสตร์ ตัวอย่างหนึ่งเช่น ภาพยนตร์ซีรี่ย์เรื่องซีรีส์เรื่อง[[เซ็นเซอร์อีเลฟเวน]] ซึ่งเป็นการ์ตูนแอนิเมชั่นแต่ถูกเซ็นเซอร์เพราะเห็นว่าไม่ถูกต้อง
 
== การอนุญาตเพื่อการแก้ไขบทความและรูปภาพ ==
การอนุญาตเพื่อการแก้ไขบทความคือสิทธิในการอ่านและแก้ไขบทความก่อนการส่งตีพิมพ์ซึ่งส่วนมากมักเป็นบทสัมภาษณ์ หลายสำนักพิมพ์ปฏิเสธที่จะให้สิทธิ์ในการแก้ไขบทความแต่ปัจจุบันได้กลายเป็นข้อปฏิบัติธรรมดาเมื่อบุคคลมีชื่อเสียงเกิดความกังวลใจอย่างมาก การอนุญาติอนุญาตเพื่อแก้ไขรูปภาพคือสิทธิ์ที่จะให้บุคคลนั้นๆ เลือกรูปภาพที่จะถูกนำไปตีพิมพ์หรือไม่ควรถูกตีพิมพ์ด้วยตนเอง [[โรเบิร์ต เรดฟอร์ด]] เป็นผู้หนึ่งที่เรียกร้องถึงสิทธิ์ในการเลือกรูปภาพ นักหนังสือพิมพ์ของ[[ฮอลลีวูด]] แพท คิงส์ลี เป็นที่รู้จักการดีว่าเป็นผู้ต่อต้านนักเขียนที่เขียนข่าวแย่ๆ ต่อลูกค้าของเธอจากการสัมภาษณ์
 
== การเซ็นเซอร์แผนที่ ==