ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเซ็นเซอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งต้องการเก็บกวาดด้วยสจห.
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เก็บกวาด}}
'''การเซ็นเซอร์''' ({{lang-en|'''Censorship'''}}) คือการปิดบังคำพูด หรือการลบข้อมูลบางอย่างออกจากแหล่งข้อมูลข่าวสารที่ถูกพิจาราณาว่าอาจก่อให้เกิดความรุนแรง, เปราะบาง และต่อต้านรัฐบาลหรือองค์กรต่างๆ โดยจะถูกคัดเลือกออกโดยเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ
 
== เหตุผล ==
เหตุผลของการเซ็นเซอร์นั้นต่างกันออกไปตามลักษณะข้อมุลที่จะถูกเซ็นเซอร์
 
*การเซ็นเซอร์ทางด้านศีลธรรม คือการนำเอาสิ่งที่ขัดต่อศีลธรรมอันดีออก ตัวอย่างเช่นสื่อลามกซึ่งมักจะถูกเซ็นเซอร์ด้วยเหตุผลนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสื่ออนาจารเกี่ยวกับเด็ก ถูกเซ็นเซอร์บ่อยที่สุดในโลก
เหตุผล
 
*การเซ็นเซอร์ทางการทหาร คือการรักษาความลับด้านยุทธวิธีและข้อมูลทางการทหารให้ห่างจากศัตรูเพื่อป้องกัน[[การจารกรรม]]ซึ่งเป็นวิธีหนึ่งของกระบวนการรวบรวมข้อมูลของฝ่ายตรงข้าม บ่อยครั้งที่ทางการทหารพยายามจะปกปิดข้อมูลทางการเมืองบางอย่างที่อาจไม่เหมาะสมถึงแม้จะเป็นข้อมูลที่ไม่มีประโยชน์ก็ตาม
เหตุผลของการเซ็นเซอร์นั้นต่างกันออกไปตามลักษณะข้อมุลที่จะถูกเซ็นเซอร์
 
*การเซ็นเซอร์ทางการเมือง คือการใช้อำนาจรัฐเมื่อทางรัฐบาลต้องการปกปิดข้อมูลางอย่างกับประชาชน และป้องกันการแสดงออกซึ่งอาจนำไปสู่การปลุกปั่นให้เกิดจราจล
การเซ็นเซอร์ทางด้านศีลธรรม คือการนำเอาสิ่งที่ขัดต่อศีลธรรมอันดีออก ตัวอย่างเช่นสื่อลามกซึ่งมักจะถูกเซ็นเซอร์ด้วยเหตุผลนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสื่ออนาจารเกี่ยวกับเด็ก ถูกเซ็นเซอร์บ่อยที่สุดในโลก
 
*การเซ็นเซอร์ทางศาสนา คือการนำข้อมูลที่เป็นปรปักษ์ต่อความเชื่อทางศาสนาออก รวมถึงการที่ศาสนาหนึ่งซึ่งมีบทบาทมากกว่าทำให้เกิดการจำกัดต่อศาสนาอื่นซึ่งมีบทบาทน้อยกว่า อีกวิธีหนึ่งคือการหลีกเลี่ยงข้อมูลและผลงานที่ทางศาสนาเห็นว่าไม่เหมาะสมต่อความเชื่อ
การเซ็นเซอร์ทางการทหาร คือการรักษาความลับด้านยุทธวิธีและข้อมูลทางการทหารให้ห่างจากศัตรู
เพื่อป้องกันการจารกรรมซึ่งเป็นวิธีหนึ่งของกระบวนการรวบรวมข้อมูลของฝ่ายตรงข้าม บ่อยครั้งที่ทางการทหารพยายามจะปกปิดข้อมูลทางการเมืองบางอย่างที่อาจไม่เหมาะสมถึงแม้จะเป็นข้อมูลที่ไม่มีประโยชน์ก็ตาม
 
*การเซ็นเซอร์ของบริษัท คือกระบวนการแทรกแทรงเพื่อหยุดยั้งการปล่อยข้อมูลในทางลบเกี่ยวกับธุรกิจหรือหุ้นส่วนของตน
การเซ็นเซอร์ทางการเมือง คือการใช้อำนาจรัฐเมื่อทางรัฐบาลต้องการปกปิดข้อมูลางอย่างกับประชาชน และป้องกันการแสดงออกซึ่งอาจนำไปสู่การปลุกปั่นให้เกิดจราจล
 
== การเซ็นเซอร์แผนที่ทางการเมือง ==
การเซ็นเซอร์ทางศาสนา คือการนำข้อมูลที่เป็นปรปักษ์ต่อความเชื่อทางศาสนาออก รวมถึงการที่ศาสนาหนึ่งซึ่งมีบทบาทมากกว่าทำให้เกิดการจำกัดต่อศาสนาอื่นซึ่งมีบทบาทน้อยกว่า อีกวิธีหนึ่งคือการหลีกเลี่ยงข้อมูลและผลงานที่ทางศาสนาเห็นว่าไม่เหมาะสมต่อความเชื่อ
[[ไฟล์:Voroshilov, Molotov, Stalin, with Nikolai Yezhov.jpg|thumb|right|250px|ภาพถ่ายจริงที่แสดงให้เห็นสตาลินกับ[[นิโคไล เยชอฟ]]]]
[[ไฟล์:The Commissar Vanishes 2.jpg|thumb|right|250px|ภาพถ่ายที่ถูกตัดแต่งและเผยแพร่โดยรัฐบาลแสดงให้เห็นเพียงแต่สตาลินเนื่องจาก[[นิโคไล เยชอฟ]] ขัดแย้งกับสตาลินเขาจึงถูกสังหารและถูกตัดออกจากภาพโดยกองเซ็นเซอร์โซเวียต]]
 
การเซ็นเซอร์ที่เข้มงวดมีให้เห็นตั้งแต่กลุ่มคนในสมัยประเทศ[[คอมมิวนิสต์]] รัฐมนตรีต่างๆ เป็นผู้ควบคุมเหล่านักเขียน ผลผลิตทางวัฒนธรรมเหล่านั้นแสดงให้เห็นถึงการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ความต้องการของรัฐ ในสมัยนั้นพรรคการเมือการเมืองเป็นผู้ตรวจเช็คและควบคุมก่อนที่จะเผยแพร่ ในสมัยของ[[โจเซฟ สตาลิน]] (Stalinist period) แม้กระทั่งการพยากรณ์อากาศยังสามารถเปลี่ยนแปลงได้ถ้าหากรัฐบาลต้องการบอกว่าพระอาทิตย์จะไม่ส่องสว่างในวันที่ [[1 พฤษภาคม]] ภายใต้การปกครองของ Nicolae[[นิโคไล Andruţă Ceauşescเชาเชสกู|ประธานาธิบดีนิโคไล เชาเชสกู]]แห่ง [[โรมาเนีย]] การรายงานสภาพอากาศก็ถูกควบคุม อุณหภูมิจะได้ไม่ดูว่าขึ้นลงหรือเปลี่ยนแปลงมากจนถึงจุดที่ต้องออกคำสั่งหยุดงาน ใน[[สหภาพโซเวียต]]เราไม่สามรถพบนักข่าวอิสระได้จนกระทั่ง[[มิฮาอิล กอร์บาชอฟ]]ได้ก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำแห่งสหภาพโซเวียต การรายงานข่าวทุกชิ้นจะต้องถูกควบคุมโดยพรรคคอมมิวนิสต์หรือองค์การที่เกี่ยวข้อง ปราฟดาคือหนังสือพิมพ์มีที่เอกสิทธิ์ผูกขาดและมีบทบาทมากในสหภาพโซเวียต หนังสือพิมพ์ต่างชาตินั้นมีให้เห็นแต่จะต้องเป็นฝ่ายเดียวกับพรรคคอมมิวนิสต์เท่านั้น
การเซ็นเซอร์ของบริษัท คือกระบวนการแทรกแทรงเพื่อหยุดยั้งการปล่อยข้อมูลในทางลบเกี่ยวกับธุรกิจหรือหุ้นส่วนของตน
 
การครอบครองและการใช้เครื่องทำสำเนาล้วนถูกควบคุมเพื่อยับยั้งการผลิตและการเผยแพร่ของ[[หนังสือต้องห้าม]]ในโซเวียต (samizdat) หนังสือและนิตยสารที่ตีพิมพ์เองจะผิดกฎหมาย การครอบครองแม้กระทั่งหนังสือเพียงเล่มเดียวของ [[อันเดร ซินยาฟสกี]] ถือเป็นอาชญากรรมอันร้ายแรงและอาจมีการตรวจค้นจาก[[หน่วยตำรวจลับของสหภาพโซเวียต|หน่วยตำรวจลับแห่งสหภาพโซเวียต]]หรือเคจีบี ผลงานอื่นๆ ที่ไม่ได้สนับสนุนรัฐบาลต่างถูกตีพิมพ์ในต่างประเทศ [[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]ซึ่งยังใช้กฎหมายทางการเมืองแบบคอมมิวนิสต์ว่าจ้างตำรวจ[[อินเทอร์เน็ต]]กว่าสามหมื่นคน เพื่อตรวจสอบการใช้อินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์เสิร์ชเอนจิ้นที่เป็นที่นิยม เช่น [[กูเกิล]] และ [[ยาฮู!]] และในประเทศ[[อิรัก]]ภายใต้การปกครองของ[[ซัดดัม ฮุสเซน]] มีการเซ็นเซอร์ข่าวสารเช่นเดียวกับในประเทศโรมาเนียภายใต้[[นิโคไล เชาเชสกู|ประธานาธิบดีนิโคไล เชาเชสกู]]แต่มีความรุนแรงทางการเมืองมากกว่า ส่วนสื่อในประเทศ[[คิวบา]]ดำเนินการภายใต้การตรวจการของพรรคคอมมิวนิสต์ หน่วยงานการกำหนดทิศทางของการปฏิวัติ (Department of Revolutionary Orientation) ซึ่งทำหน้าที่พัฒนาและประสานงานกลยุทธ์ในการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ซึ่งการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตถือเป็นสิ่งผิดกฎหมาย
 
== การเซ็นเซอร์ความลับของรัฐและการป้องการความสนใจ ==
ในช่วงภาวะสงครามมีการเซ็นเซอร์อย่างเปิดเผย ทั้งนี้เพื่อป้องกันการปล่อยข้อมูลบางอย่างที่อาจะป็นประโยชน์แก่ศัตรู โดยทั่วไปเป็นการเก็บข้อมูลเรื่องเวลาและสถานที่ หรือถ่วงเวลาการปล่อยข้อมูลจนกระทั่งแน่ใจว่าไม่มีประโยชน์ต่อกองทัพฝ่ายตรงข้าม เช่น จุดประสงค์การปฏิบัติการ ในทางศีลธรรมอาจะเห็นไปในทางต่างกัน ผู้ที่สนับสนุนการกระทำนี้เห็นว่าการปล่อยข้อมูลด้านยุทธวธีก่อให้เกิดความเสี่ยงอย่างมากมายต่อความตายของผู้คนและมีโอกาสเสี่ยงต่อการแพ้สงครามของทั้งหมด ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] จดหมายซึ่งเขียนโดยทหาร[[อังกฤษ]]จะถูกส่งผ่านกระบวนกองเซ็นเซอร์ ซึ่งประกอบไปด้วยเจ้าหน้าที่ที่ทำหน้าที่คอยอ่านจดหมายและใช้ปากกกามารคเกอร์สีดำขีดข้อความที่ไม่เหมาะสมทิ้งก่อนจะส่งจดหมายออกไป ซึ่งมีวลีหนึ่งที่เป็นที่นิยมในสมัย[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] “หลุดปาก เรือจม” (Loose lips sink ships) เป็นการกระตุ้นให้แต่ละคนมีความระมัดระวังเมื่อต้องพูดเกี่ยวกับข้อมูลอันเปราะบางทางการเมือง ตัวอย่างของ[[นโยบายเก็บกวาด]]ของสหภาพโซเวียตภายใต้การนำของ[[โจเซฟ สตาลิน]] ซึ่งมีปรากฎไว้บนภาพถ่ายและเผยแพร่เป็นการประณามการประหารชีวิตของนโยบายของสตาลิน แม้ภาพถ่ายเก่าๆ จะถูกเก็บไว้แล้วแต่ภาพเหล่านั้นยังอยู่ในความทรงจำของสาธารณะ และเป็นสัญลักษณ์ของระบบสตาลินและระบอบการปกครองแบบ[[เผด็จการเบ็ดเสร็จ]] ซึ่งการเซ็นเซอร์ส่วนใหญ่มีจุดประสงค์เพื่อปกป้องผู้มีอำนาจหรือบุคคลบางคนหรือการสนใจของสื่อมวลชนต่อเหยื่อการลักพาตัวเด็กถือเป็นเรื่องที่ช่วยไม่ได้
 
== การเซ็นเซอร์ทางการเมืองของสื่อเพื่อการศึกษา ==
เนื้อหาสาระของหนังสือเรียนในโรงเรียนส่วนมากเป็นการอภิปรายและต่อต้าน เพราะกลุ่มเป้าหมายนั้นคือเยาวชน การปกปิดความผิดหรือ[[การเคลือบสีขาว]] (white washing) เป็นหนึ่งในวิธีการเลือกสรรหรือทำลายหลักฐานที่ต้องการหรือไม่ต้องการปกปิด รายงานของทหารใน[[ประวัติศาสตร์]]นั้นมีข้อโต้แย้งมาก เช่นในกรณี[[เหตุการณ์ทิ้งระเบิดที่เดรสเดน]] (Dresden) สงครามที่หรือ[[การสังหารหมู่นานกิง]] ซึ่งสามารถพบในหนังสือเรียนของญี่ปุ่น [[การฆ่าล้างเผ่าพันธ์ของชาวอเมริกัน]] และเหตุการณ์[[การชุมนุมประท้วงที่จตุรัสจัตุรัสเทียนอันเหมิน พ.ศ. 2532|การชุมนุมประท้วงที่จัตุรัสเทียนอันเหมิน]] ในบริบทของโรงเรียนมัธยมศึกษา วิธีการที่ความจริงและประวัติศาสตร์ถูกนำเสนอนั้นมีอิทธิพลอย่างมากต่อการตีความและความคิดร่วมสมัย ความเห็นหรือการเข้าสังคม การคัดสรรข้อมูลนั้นเลือกจากการตีความว่าสิ่งใดเหมาะสมหรือไม่เหมาะสมสำหรับเยาวชน การตีความว่าเหมาะสมหรือไม่เหมาะสมนั้นเป็นสิ่งที่ต้องโต้เถียงกันและสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา
 
== การเซ็นเซอร์ในดนตรี และ[[วัฒนธรรมป๊อบสมัยนิยม]] ==
การเซ็นเซอร์ที่เข้มงวดมีให้เห็นตั้งแต่กลุ่มคนในสมัยประเทศคอมมิวนิสต์ รัฐมนตรีต่างๆเป็นผู้ควบคุมเหล่านักเขียน ผลผลิตทางวัฒนธรรมเหล่านั้นแสดงให้เห็นถึงการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ความต้องการของรัฐ ในสมัยนั้นพรรคการเมือเป็นผู้ตรวจเช็คและควบคุมก่อนที่จะเผยแพร่ ในสมัยของสตาลิน (Stalinist period) แม้กระทั่งการพยากรณ์อากาศยังสามารถเปลี่ยนแปลงได้ถ้าหากรัฐบาลต้องการบอกว่าพระอาทิตย์จะไม่ส่องสว่างในวันที่ 1 พฤษภาคม ภายใต้การปกครองของ Nicolae Andruţă Ceauşesc แห่ง โรมาเนีย การรายงานสภาพอากาศถูกควบคุม อุณหภูมิจะได้ไม่ดูว่าขึ้นลงหรือเปลี่ยนแปลงมากจนถึงจุดที่ต้องออกคำสั่งหยุดงาน
การเซ็นเซอร์ดนตรีนั้นมีรูปแบบต่างกันออกไปตามแต่ละประเทศ, ศาสนา, ระบบการศึกษา, ครอบครัวและกฎหมาย ซึ่งในกรณีส่วนใหญ่จะละเมิดสนธิ[[สัญญาสิทธิมนุษยชนนานาชาติ]] นอกจากการเซ็นเซอร์สื่อลามก ภาษา และความรุนแรง [[ภาพยนตร์]]บางเรื่องถูกเซ็นเซอร์เพราะมีเนื้อหาในเชิงเปลี่ยนแปลงทัศนคติและความถูกต้องทางการเมือง เพื่อหลีกเลี่ยงการขัดต่อจริยธรรมของคนส่วนใหญ่ในสังคม หรือหลีกเลี่ยงการต่อต้านคุณค่าในเชิงศิลปะและประวัติศาสตร์ ตัวอย่างหนึ่ง เช่น ภาพยนตร์ซีรี่ย์เรื่อง Censored Eleven[[เซ็นเซอร์อีเลฟเวน]] ซึ่งเป็นการ์ตูนแอนิเมชั่น แต่ถูกเซ็นเซอร์เพราะเห็นว่าไม่ถูกต้อง
 
== การอนุญาตเพื่อการแก้ไขบทความและรูปภาพ ==
นักข่าวอิสระไม่สามรถพบได้ในสหภาพโซเวียตจนกระทั่ง Mikhail Gorbachev ได้มาเป็นผู้นำ การรายงานข่าวทุกชิ้นจะต้องถูกควบคุมโดยพรรคคอมมิวนิสต์หรือองค์การที่เกี่ยวข้อง Pravda คือหนังสือพิมพ์มีที่เอกสิทธิ์ผูกขาดและมีบทบาทมากในสหภาพโซเวียต หนังสือพิมพ์ต่างชาตินั้นมีให้เห็นแต่จะต้องเป็นฝ่ายเดียวกับพรรคคอมมิวนิสต์เท่านั้น
การอนุญาตเพื่อการแก้ไขบทความ คือสิทธิในการอ่านและแก้ไขบทความก่อนการส่งตีพิมพ์ซึ่งส่วนมากมักเป็นบทสัมภาษณ์ หลายสำนักพิมพ์ปฏิเสธที่จะให้สิทธิ์ในการแก้ไขบทความแต่ปัจจุบันได้กลายเป็นข้อปฏิบัติธรรมดาเมื่อบุคคลมีชื่อเสียงเกิดความกังวลใจอย่างมาก การอนุญาติเพื่อแก้ไขรูปภาพ คือสิทธิ์ที่จะให้บุคคลนั้นๆ เลือกรูปภาพที่จะถูกนำไปตีพิมพ์หรือไม่ควรถูกตีพิมพ์ด้วยตนเอง Robert[[โรเบิร์ต Redfordเรดฟอร์ด]] เป้นเป็นผู้หนึ่งที่เรียกร้องถึงสิทธิ์ในการเลือกรูปภาพ นักหนังสือพิมพ์ของฮอลลิวูด[[ฮอลลีวูด]] Patแพท Kingsleyคิงส์ลี เป็นที่รู้จักการดีว่าเป็นผุ้ผู้ต่อต้านนักเขียนที่เขียนข่าวแย่ๆ ต่อลูกค้าของเธอจากการสัมภาษณ์
 
== การเซ็นเซอร์ที่สร้างสรรค์แผนที่ ==
การครอบครองและการใช้เครื่องทำสำเนาล้วนถูกควบคุมเพื่อยับยั้งการผลิตและการเผยแพร่ของหนังสือต้องห้ามในโซเวียต (samizdat) หนังสือตีพิมพ์เองที่ผิดกฎหมาย และนิตยสาร การครอบครองแม้กระทั่งหนังสือเพียงเล่มเดียวของ Andrei sinyavsky ถือเป็นอาชญากรรมอันร้ายแรงและอาจมีการตรวจค้นจากหน่วยงานเพื่อความมั่นคงของชาติ (KGB) ผลงานอื่นๆที่ไม่ได้สนับสนุนรัฐบาลต่างถูกตีพิมพ์ในต่างประเทศ
การเซ็นเซอร์แผนที่ถูกใช้ทั่วไปในเยอรมัน[[เยอรมนีตะวันออก]]โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ที่ติดกับชายแดนของเยอรมัน[[เยอรมนีตะวันออกตก]] เพื่อให้การหลบหนีออกนอกประเทศเป็นไปได้ยากขึ้น การเซ็นเซอร์แผนที่นั้นยังถูกนำไปประยุกต์ใช้โดยกูเกิลแมป เมื่อพื้นที่นั้นๆ ตั้งใจถูกทิ้งไว้ล้าสมัย
 
== เบื้องหลังการเซ็นเซอร์ ==
สาธารณรัฐประชาชนจีนซึ่งยังใช้กฎหมายทางการเมืองแบบคอมมิวนิสต์ว่าจ้างตำรวจอินเทอร์เน็ตกว่าสามหมื่นคน เพื่อตรวจสอบการใช้อินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์เสิร์ชเอนจิ้นที่เป็นที่นิยม เช่น Google และ Yahoo
การเซ็นเซอร์ในลักษณะนี้ ข้อมุลต่างๆข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับการเซ็นเซอร์และมาตรฐานทางกฎหมายในการเซ็นเซอร์ล้วนถูกเซ็นเซอร์อีกที กฎของการเซ็นเซอร์ถูกแบ่งออกเป็นหมวดหมู่
 
== การเซ็นเซอร์ที่สร้างสรรค์ ==
ประเทศอิรักภายใต้การปกครองของซัดดัม ฮุสเซน มีการเซ็นเซอร์ข่าวสารเช่นเดียวกับในประเทศโรมาเนียภายใต้ Nicolae Andruţă Ceauşesc แต่มีความนุนแรงทางการเมืองมากกว่า
เป็นการเซ็นเซอร์โดยการเขียนข้อความใหม่ แล้วส่งข้อความลับเหล่านี้ไปให้นักเขียนร่วมอีกหนึ่งคน รูปแบบนี้ใช้ในบทประพันธ์เรื่อง Nineteen Eighty-Fourไนน์ทีนเอกทีโฟร์
 
== อ้างอิง ==
สื่อในประเทศคิวบาดำเนินการภายใต้การตรวจการของพรรคคอมมิวนิสต์ ภาคการกำหนดทิศทางของการปฏิวัติ (Department of Revolutionary Orientation) ซึ่งทำหน้าที่พัฒนาและประสานงานกลยุทธ์ในการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ การเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตถือเป็นสิ่งผิดกฎหมาย
*[http://en.wikipedia.org/wiki/Censorship วิกิพีเดียภาษาอังกฤษ]
 
 
การเซ็นเซอร์ความลับของรัฐและการป้องการความสนใจ
 
ในช่วงภาวะสงครามมีการเซ็นเซอร์อย่างเปิดเผย ทั้งนี้เพื่อป้องกันการปล่อยข้อมูลบางอย่างที่อาจะป็นประโยชน์แก่ศัตรู โดยทั่วไปเป็นการเก็บข้อมูลเรื่องเวลาและสถานที่ หรือถ่วงเวลาการปล่อยข้อมูลจนกระทั่งแน่ใจว่าไม่มีประโยชน์ต่อกองทัพฝ่ายตรงข้าม เช่น จุดประสงค์การปฏิบัติการ ในทางศีลธรรมอาจะเห็นไปในทางต่างกัน ผู้ที่สนับสนุนการกระทำนี้เห็นว่าการปล่อยข้อมูลด้านยุทธวธีก่อให้เกิดความเสี่ยงอย่างมากมายต่อความตายของผู้คนและมีโอกาสเสี่ยงต่อการแพ้สงครามของทั้งหมด
 
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง จนหมายซึ่งเขียนโดยทหารอังกฤษจะถูกส่งผ่านกระบวนกองเซ็นเซอร์ ซึ่งประกอบไปด้วยเจ้าหน้าที่ ที่ทำหน้าที่คอยอ่านจดหมายและใช้ปากกกามารคเกอร์สีดำขีดข้อความที่ไม่เหมาะสมทิ้งก่อนจะส่งจดหมายออกไป วลีหนึ่งที่เป็นที่นิยมในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง “หลุดปาก เรือจม” (Loose lips sink ships) เป็นการกระตุ้นให้แต่ละคนมีความระมัดระวังเมื่อต้องพูดเกี่ยวกับข้อมูลอันเปราะบางทางการเมือง
 
ตัวอย่างของนโยบาย”เก็บกวาด” (sanitization) ของ USSR ภายใต้การนำของโจเซฟ สตาลิน
ซึ่งมีปรากฎไว้บนภาพถ่ายและเผยแพร่เป็นการประณามการประหารชีวิตของนโยบายของสตาลิน แม้ภาพถ่ายเก่าๆจะถูกเก็บไว้แล้ว แต่ภาพเหล่านั้นยังอยุ่ในความทรงจำของสาธารณะ และเป็นสัญลักษณ์ของระบบสตาลิน และระบอบการปกครองแบบเผด็จการเบ็ดเสร็จ
 
การเซ็นเซอร์ส่วนใหญ่มีจุดประสงค์เพื่อปกป้องผู้มีอำนาจหรือบุคคลบางคน การสนใจของสื่อมวลชนต่อเหยื่อการลักพาตัวเด็กเป็นเรื่องที่ช่วยไม่ได้
 
 
การเซ็นเซอร์ของสื่อเพื่อการศึกษา
 
เนื้อหาสาระของหนังสือเรียนในโรงเรียนส่วนมากเป็นการอภิปรายและต่อต้าน เพราะกลุ่มเป้าหมายนั้นคือเยาวชน การปกปิดความผิดหรือเคลือบสีขาว (white washing) เป็นหนึ่งในวิธีการเลือกสรรหรือทำลายหลักฐานที่ต้องการหรือไม่ต้องการปกปิด รายงานของทหารในประวัติศาสตร์นั้นมีข้อโต้แย้งมาก เช่นในกรณีระเบิดที่เดรสเดน (Dresden) สงครามที่นานกิง ซึ่งสามารถพบในหนังสือเรียนของญี่ปุ่น การฆ่าล้างเผ่าพันธ์ของชาวอเมริกัน และเหตุการณ์ที่จตุรัสเทียนอันเหมิน
 
ในบริบทของโรงเรียนมัธยมศึกษา วิธีการที่ความจริงและประวัติศาสตร์ถูกนำเสนอนั้นมีอิทธิพลอย่างมากต่อการตีความ และความคิดร่วมสมัย ความเห็น และการเข้าสังคม การคัดสรรข้อมูลนั้นเลือกจากการตีความว่าสิ่งใดเหมาะสมหรือไม่เหมาะสมสำหรับเยาวชน การตีความว่าเหมาะสมหรือไม่เหมาสมนั้นเป็นสิ่งที่ต้องโต้เถียงกัน และสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา
 
การเซ็นเซอร์ในดนตรี และวัฒนธรรมป๊อบ
 
การเซ็นเซอร์ดนตรีนั้นมีรูปแบบต่างกันออกไปตามแต่ละประเทศ ศาสนา ระบบการศึกษา ครอบครัว และกฎหมาย ซึ่งในกรณีส่วนใหญ่จะละเมิดสนธิสัญญาสิทธิมนุษยชนนานาชาติ
 
นอกจากการเซ็นเซอร์สื่อลามก ภาษา และความรุนแรง ภาพยนตร์บางเรื่องถูกเซ็นเซอร์เพราะมีเนื้อหาในเชิงเปลี่ยนแปลงทัศนคติและความถูกต้องทางการเมือง เพื่อหลีกเลี่ยงการขัดต่อจริยธรรมของคนส่วนใหญ่ในสังคม หรือหลีกเลี่ยงการต่อต้านคุณค่าในเชิงศิลปะและประวัติศาสตร์ ตัวอย่างหนึ่ง เช่น ภาพยนตร์ซีรี่ย์เรื่อง Censored Eleven ซึ่งเป็นการ์ตูนแอนิเมชั่น แต่ถูกเซ็นเซอร์เพราะเห็นว่าไม่ถูกต้อง
 
การอนุญาตเพื่อการแก้ไขบทความและรูปภาพ
 
การอนุญาตเพื่อการแก้ไขบทความ คือสิทธิในการอ่านและแก้ไขบทความก่อนการส่งตีพิมพ์ซึ่งส่วนมากมักเป็นบทสัมภาษณ์ หลายสำนักพิมพ์ปฏิเสธที่จะให้สิทธิ์ในการแก้ไขบทความแต่ปัจจุบันได้กลายเป็นข้อปฏิบัติธรรมดาเมื่อบุคคลมีชื่อเสียงเกิดความกังวลใจอย่างมาก การอนุญาติเพื่อแก้ไขรูปภาพ คือสิทธิ์ที่จะให้บุคคลนั้นๆ เลือกรูปภาพที่จะถูกนำไปตีพิมพ์หรือไม่ควรถูกตีพิมพ์ด้วยตนเอง Robert Redford เป้นผู้หนึ่งที่เรียกร้องถึงสิทธิ์ในการเลือกรูปภาพ นักหนังสือพิมพ์ของฮอลลิวูด Pat Kingsley เป็นที่รู้จักการดีว่าเป็นผุ้ต่อต้านนักเขียนที่เขียนข่าวแย่ๆต่อลูกค้าของเธอจากการสัมภาษณ์
 
 
การเซ็นเซอร์แผนที่
 
การเซ็นเซอร์แผนที่ถูกใช้ทั่วไปในเยอรมันตะวันออกโดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ที่ติดกับชายแดนของเยอรมันตะวันออก เพื่อให้การหลบหนีออกนอกประเทศเป็นไปได้ยากขึ้น การเซ็นเซอร์แผนที่นั้นยังถูกนำไปประยุกต์ใช้โดยกูเกิลแมป เมื่อพื้นที่นั้นๆตั้งใจถูกทิ้งไว้ล้าสมัย
 
 
เบื้องหลังการเซ็นเซอร์
 
การเซ็นเซอร์ในลักษณะนี้ ข้อมุลต่างๆเกี่ยวกับการเซ็นเซอร์และมาตรฐานทางกฎหมายในการเซ็นเซอร์ล้วนถูกเซ็นเซอร์อีกที กฎของการเซ็นเซอร์ถูกแบ่งออกเป็นหมวดหมู่
 
การเซ็นเซอร์ที่สร้างสรรค์
 
เป็นการเซ็นเซอร์โดยการเขียนข้อความใหม่ แล้วส่งข้อความลับเหล่านี้ไปให้นักเขียนร่วมอีกหนึ่งคน รูปแบบนี้ใช้ในบทประพันธ์เรื่อง Nineteen Eighty-Four
 
(ยังไม่จบ) อ้างอิง http://en.wikipedia.org/wiki/Censorship