ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิบัติการมาร์เก็ตการ์เดน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Umic2000 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Umic2000 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
 
[[ไฟล์:Market-Garden_-_Karte_Plan.png|250px|thumb|left|ภาพแผนการบุกของฝ่ายสัมพันธมิตรในยุทธการมาร์เก็ต การ์เดน ทั้งทางอากาศและภาคพื้นดิน]]
'''ยุทธการมาร์เก็ต การ์เดน''' ({{lang-en|Operation Market Garden}}) เป็นปฏิบัติการทางทหารของ[[ฝ่ายสัมพันธมิตร]]ในห้วงวันที่ 17-25 กันยายน ค.ศ. 1944 เหนือแผ่นดิน[[:th:เนเธอร์แลนด์|ประเทศเนเธอร์แลนด์]] โดยใช้ยุทธบรรจบแบบโอบทางดิ่ง ด้วยการส่งกำลังทางอากาศเข้าสู่เขตแนวหลังของนาซีเยอรมันเพื่อยึดสะพานขนาดใหญ่สำคัญทั้ง 5 แห่ง พร้อมทั้งให้กองกำลังภาคพื้นดิน คือ กองทัพสนามที่ 30 [[:en:XXX_Corps_(United_Kingdom)|(The British XXX Corps)]] เคลื่อนที่ไปตามทางหลวงหมายเลข 69 เพื่อตีเจาะแล้วบรรจบกำลังกันที่เมือง[[:en:Arnhem|อาร์นเน็ม (Arnhem)]] เพื่อรวมพลก่อนรุกคืบเข้าสู่[[:en:Ruhr|แคว้นรูห์ (Ruhr)]] ทางตอนเหนือของเยอรมันต่อไป โดยฝ่ายสัมพันธมิตรมุ่งหมายที่จะเผด็จศึกนาซีเยอรมันให้เสร็จสิ้นก่อนวันคริสต์มาส ค.ศ. 1944
 
[[ไฟล์:Pegasusflash.jpg‎|thumb|100px|right|สัญลักษณ์กองพลส่งกำลังทางอากาศที่ 1 (1st Airborne Division) หรือกองพลปีศาจแดง (Red Devils) ของแห่งอังกฤษ]]
[[ไฟล์:9th_SS_Division_Logo.svg|thumb|100px|right|สัญลักษณ์กองพลยานเกราะ เอส เอส ที่ 9 โฮเฮนสเตาเฟน (9th SS Panzer Division Hohenstaufen) ของแห่งนาซีเยอรมัน]]
 
โดยในยุทธการดังกล่าวได้มีการปะทะกันอย่างดุเดือดที่เมืองอาร์นเน็ม ระหว่างกองพลส่งกำลังทางอากาศที่ 1 [[:en:1st_Airborne_Division|(1st Airborne Division)]] ประเทศอังกฤษกับกองพลยานเกราะ เอส เอส ที่ 9 โฮเฮนสเตาเฟน [[:en:9_SS|(9th SS Panzer Division Hohenstaufen)]] ของนาซีเยอรมันที่ถอนตัวมาพักฟื้นและปรับกำลังที่เมืองนี้นานแล้ว โดยทั้งสองฝ่ายได้มีการต่อสู้กันอย่างหนักหน่วงถึง 3 วัน 3 คืน บริเวณเชิงสะพาน John Frost ซึ่งทั้งสองฝ่ายได้ยึดเชิงสะพานคนละฝั่งกัน โดยในแรกฝ่ายเยอรมันได้ส่งกำลังเข้าไปเพื่อหยั่งเชิง หลังจากที่รู้การวางกำลังของฝ่ายอังกฤษแล้วจึงใช้การสนธิกำลังระหว่างยานเกราะกับทหารราบรุกคืบเข้าไป ก่อนที่ฝ่ายอังกฤษจะยอมจำนนในเวลาต่อมาเนื่องจากขาดแคลนทั้งอาวุธ กระสุน และเสบียง ตลอดจนการที่กองทัพสนามที่ 30 ไม่สามารถเคลื่อนพลเข้ามาช่วยเหลือได้ตามกำหนด ในภายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ทำลายสะพานแห่งนี้ทิ้งไปด้วยเช่นกันด้าน
 
โดยในตอนแรกฝ่ายเยอรมันได้ทำการหยั่งเชิงฝ่ายอังกฤษด้วยการส่งยานเกราะเบาและทหารราบเข้ามา จึงถูกฝ่ายตีโต้จนยับเยินกลับไป ภายหลังจากที่ฝ่ายเยอรมันรับรู้ถึงขุมกำลังของฝ่ายอังกฤษแล้ว และทราบว่าฝ่ายอังกฤษเองก็อ่อนล้าเต็มที่เนื่องจากขาดแคลนทั้งอาวุธ กระสุน และเสบียงอาหาร เนื่องจากการทิ้งของลงมาจากเครื่องบินนั้นถูกกระแสลมก็พัดพาสิ่งของไปลงฝั่งเยอรมันเป็นส่วนมาก จึงได้ใช้การกำลังยานเกราะหนักเต็มรูปแบบเข้าโจมตีจนฝ่ายอังกฤษต้องยอมจำนนในเวลาต่อมา
 
ในขณะนั้น กองทัพสนามที่ 30 เองอยู่ห่างจากเมืองอาร์นเน็มไปเพียง 9.4 กิโลเมตรเท่านั้น แต่เนื่องจากการเคลื่อนพลทำได้ช้า เนื่องจากถูกฝ่ายเยอรมันซุ่มโจมตี (Ambush) ด้วยปืนใหญ่ 75 มม.และรถถังตลอดทาง ทำให้ต้องเสียเวลาในการเคลียร์เส้นทางและจัดการกับซากรถ อีกทั้งยังถูกขัดขวางด้วยการก่อวินาศกรรมสะพานขนาดเล็กและปล่อยน้ำเข้าท่วมพื้นที่ลุ่ม จึงไม่สามารถเข้าไปช่วยกองพลปีศาจแดงได้ทันการณ์
โดยในยุทธการดังกล่าวได้มีการปะทะกันอย่างดุเดือดที่เมืองอาร์นเน็ม ระหว่างกองพลส่งกำลังทางอากาศที่ 1 [[:en:1st_Airborne_Division|(1st Airborne Division)]] ประเทศอังกฤษกับกองพลยานเกราะ เอส เอส ที่ 9 โฮเฮนสเตาเฟน [[:en:9_SS|(9th SS Panzer Division Hohenstaufen)]] ของนาซีเยอรมันที่ถอนตัวมาพักฟื้นและปรับกำลังที่เมืองนี้นานแล้ว โดยทั้งสองฝ่ายได้มีการต่อสู้กันอย่างหนักหน่วงถึง 3 วัน 3 คืน บริเวณเชิงสะพาน John Frost ซึ่งทั้งสองฝ่ายได้ยึดเชิงสะพานคนละฝั่งกัน โดยในแรกฝ่ายเยอรมันได้ส่งกำลังเข้าไปเพื่อหยั่งเชิง หลังจากที่รู้การวางกำลังของฝ่ายอังกฤษแล้วจึงใช้การสนธิกำลังระหว่างยานเกราะกับทหารราบรุกคืบเข้าไป ก่อนที่ฝ่ายอังกฤษจะยอมจำนนในเวลาต่อมาเนื่องจากขาดแคลนทั้งอาวุธ กระสุน และเสบียง ตลอดจนการที่กองทัพสนามที่ 30 ไม่สามารถเคลื่อนพลเข้ามาช่วยเหลือได้ตามกำหนด ในภายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ทำลายสะพานแห่งนี้ทิ้งไปด้วยเช่นกัน
 
[[ไฟล์:John_Frost_Brug_(Arnhem)_01.jpg|thumb|200px|right|สะพาน John Frost ที่ทอดข้ามแม่น้ำไรน์ (Rhine River) ในปัจจุบัน ซึ่งบูรณะขึ้นมาแทนสะพานเดิมที่ถูกทำลายหลังจากยุทธการมาร์เก็ต การ์เดนล้มเหลวเพียง 4 วัน]]
การโยกย้ายกำลังของกองพลยานเกราะ เอส เอส ที่ 9 นี้ เกิดขึ้นหลังจากการปฏิบัติภารกิจช่วยเหลือและตีฝ่าวงล้อมของฝ่ายอังกฤษและแคนาดาที่เมืองฟาเลส์ [[:en:Falaise_pocket|(Falaise pocket)]] ในประเทศฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 12-21 สิงหาคม ค.ศ. 1944 เพื่อเปิดช่องให้ทหารเยอรมันจากเมือง Merri และเมือง Falaise ถอยร่นออกมาทางเมือง Trun และคุ้มกันระวังหลังให้ ซึ่งทางหน่วยใต้ดินของฮอลแลนด์ที่ทำงานเป็นสายลับให้อังกฤษ ได้รายงานข่าวกรองนี้ให้ทางอังกฤษทราบแล้ว แต่ในเวลานั้นคนคุมยุทธการรวมคือ [[:en:/Frederick_Browning|พลโทบราวนิ่ง (Lieutenant General Sir Frederick Arthur Montague Browning)]] ของอังกฤษไม่เชื่อข่าวกรองดังกล่าว อีกทั้งยังมีการแก่งแย่งกันเอาหน้ากันระหว่างสัมพันธมิตร โดยอังกฤษนำโดย[[:en:/Bernard_Montgomery|จอมพลมอนโกเมอรี่ (Field Marshal Bernard L.Montgomery)]] ซึ่งเป็นเจ้าภาพยุทธการนี้ต้องการให้ฝ่ายอังกฤษได้หน้าในการโอบทางดิ่ง ด้วยการยึดสถานที่ที่สำคัญกว่าฝ่ายอเมริกัน
 
การโยกย้ายกำลังของกองพลยานเกราะ เอส เอส ที่ 9 นี้มาที่เมืองอาร์นเน็มนี้ เกิดขึ้นหลังจากการปฏิบัติภารกิจช่วยเหลือและตีฝ่าวงล้อมของฝ่ายอังกฤษและแคนาดาที่เมืองฟาเลส์ [[:en:Falaise_pocket|(Falaise pocket)]] ในประเทศฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 12-21 สิงหาคม ค.ศ. 1944 เพื่อเปิดช่องและคุ้มกันระวังหลังให้ทหารเยอรมันจากเมือง Merri และเมือง Falaise ถอยร่นออกมาทางเมือง Trun และคุ้มกันระวังหลังให้ ซึ่งทางหน่วยใต้ดินของฮอลแลนด์ที่ทำงานเป็นสายลับให้อังกฤษ ได้รายงานข่าวกรองนี้ให้ทางอังกฤษทราบแล้ว แต่ในเวลานั้นคนคุมยุทธการรวมดังกล่าวคือ [[:en:/Frederick_Browning|พลโทบราวนิ่ง (Lieutenant General Sir Frederick Arthur Montague Browning)]] ของอังกฤษไม่เชื่อข่าวกรองดังกล่าวนี้ อีกทั้งยังมีการแก่งแย่งกันเอาหน้ากันระหว่างสัมพันธมิตร โดยอังกฤษนำโดย[[:en:/Bernard_Montgomery|จอมพลมอนโกเมอรี่ (Field Marshal Bernard L.Montgomery)]] ซึ่งเป็นเจ้าภาพยุทธการนี้ต้องการให้ฝ่ายอังกฤษได้หน้าในการโอบทางดิ่ง ด้วยการยึดสถานที่ที่สำคัญกว่าฝ่ายอเมริกัน
[[ไฟล์:John_Frost_Brug_(Arnhem)_01.jpg|thumb|200px|right|สะพาน John Frost ที่ทอดข้ามแม่น้ำไรน์ (Rhine River) ในปัจจุบัน ซึ่งบูรณะขึ้นมาแทนสะพานเดิมที่ถูกทำลายหลังจากยุทธการมาร์เก็ต การ์เดนล้มเหลว]]
 
ซึ่งการวางกำลังโดยการหว่านพลร่มกองพันทหารพลร่มที่ 1 ของ[[สหราชอาณาจักร|อังกฤษ]]และกองพลน้อยพลร่ม[[โปแลนด์]] กองพลพลร่มที่ 82,101 ของ[[สหรัฐอเมริกา]] กระจายตามเขต[[ประเทศฮอลแลนด์]](เนเธอร์แลนด์) เข้าไปยัง[[เมืองไอด์โฮเฟน]] แล้วจะเปิดเส้นทางการรุกรบทางใต้ ให้แก่กองพลรถยานเกราะรักษาพระองค์ของอังกฤษ และทหารราบที่มากับรถลำเลียงของกองทัพที่ 2 เพื่อยึดและป้องกันการทำลายสะพานระหว่างจุดเริ่มต้นจาม[[เมืองไอด์โฮเฟน]]-[[เมืองฮาร์นเฮม]] กองกำลังที่จะกรุยทางให้แก่กองทัพที่ 2 ของอังกฤษได้แก่ กองพันพลร่มที่ 1 อังกฤษ พร้อมกับกองพลน้อยทหารพลร่มของโปแลนด์ และกองพลพลร่มที่82,101,506 ของสหรัฐอเมริกาพร้อมกับกองพันพลร่มที่ 3 บางส่วน เพื่อทำการเข้าตีและยึดเมืองไอด์โฮเฟน แล้วป้องกันสะพานเพื่อการขนกำลังพลของกองทัพที่ 2 อังกฤษและกองพลรถถังยานเกราะรักษาพระองค์