ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสังเคราะห์เสียงพูด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NongBot (คุย | ส่วนร่วม)
แก้คำเขียนผิดบ่อยด้วยบอต
บรรทัด 5:
ประโยชน์ของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสังเคราะห์เสียงพูด ได้แก่
# สามารถนำเทคโนโลยีสังเคราะห์เสียงพูดมาแปลงข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์ที่มีปริมาณมากและมีการปรับเปลี่ยนตลอดเวลา เช่น การส่งข่าวสารผ่านข้อความเสียง (voice message) การรายงานข่าว การวิเคราะห์หุ้น มาเป็นเสียงพูด เพื่อให้ผู้รับข่าวสารได้รับข่าวทันทีโดยสะดวก
# สามารถเผยแพร่ข่าวสารผ่านเครือข่ายพื้นฐานที่มีอยู่แล้ว เช่น เครือข่ายโทรศัพท์บ้าน โทรศัพท์มือถือ และอินเตอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต ซึ่งการเผยแพร่ทางเสียงเป็นวิธีการพื้นฐานที่เข้าถึงได้ทุกเครือข่ายโดยไม่ต้องการอุปกรณ์เพิ่มเติม
# ผู้รับข่าวสารสามารถรับข่าวสารโดยไม่ต้องละจากกิจกรรมที่ทำอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่ผู้รับอยู่ในภาวะที่ก่อให้เกิดอันตรายได้ เช่น ขณะขับขี่รถยนต์
# สามารถประยุกต์ใช้กับอุปกรณ์สื่อสารอื่นๆ เช่น ผู้ใช้บริการสามารถส่งข้อมูลโดยโทรสาร ในขณะที่ผู้รับปลายทางสามารถรับฟังข้อความบนเอกสารโดยโทรศัพท์ทั่วไป
บรรทัด 11:
 
==ซอฟต์แวร์สังเคราะห์เสียงพูดภาษาไทย==
ปัจจุบันซอฟต์แวร์สังเคราะห์เสียงพูดภาษาไทยคุณภาพสูงได้รับการถ่ายทอดสู่เชิงพาณิชย์แล้ว และยังได้รับการพัฒนาเป็นต้นแบบโปรแกรมประยุกต์เพื่อช่วยในการตรวจสอบอีเมล์ โดยซอฟท์แวร์ซอฟต์แวร์จะแปลงข้อมูลในอีเมลเป็นเสียงอ่านส่งผ่านมาทางเครื่องโทรศัพท์เพื่อความสะดวกของผู้ใช้งาน อีกทั้งยังได้พัฒนาเป็นโปรแกรมต้นแบบสำหรับท่องเว็บ (web browser) ที่มีความพิเศษที่สามารถอ่านข้อความที่อยู่บนเว็บนั้นได้และรายงานสถานะการทำงานด้วยเสียง ซึ่งจะเป็นประโยชน์มากกับผู้ที่มีความบกพร่องทางด้านสายตา
 
ในประเทศไทย [[ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ]]ได้พัฒนาซอฟต์แวร์สังเคราะห์เสียงพูด ชื่อว่า [[วาจา]] (Vaja)