ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟิล์มนัวร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
ภาพยนตร์ที่จะจัดให้อยู่ในประเภทฟิล์มนัวร์ นั้น จะเป็นภาพยนตร์ที่ใช้แสงและสีมืดทึบ หรือขาวดำเป็นหลัก แสดงให้เห็นถึงด้านมืดในใจ[[มนุษย์]] แต่ที่สำคัญที่สุดคือ เรื่องราวที่เกิดในเรื่อง ก็ไม่ได้บ่งบอกว่าใครดี ใครเลวกว่ากัน ทุก ๆ คนมีปนกันไปทั้งดีและเลว เอกลักษณ์อีกประการของฟิล์มนัวร์ ก็คือ ผู้หญิงที่เป็นตัวเอกในเรื่อง จะเป็น[[ผู้หญิง]]ที่มีเสน่ห์ทางเพศอย่างร้ายกาจ และจะหลอกล่อ[[ผู้ชาย]]ให้ตกเป็นเหยื่อของเธอได้ ตัวอย่างของภาพยนตร์ประเภทฟิล์มนัวร์ ได้แก่ [[Citizen Kane]] ของ [[ออร์สัน เวลส์]] ในปี [[พ.ศ. 2484]] (ค.ศ. 1941) , [[The Third Man]] ของ [[คาร์รอล รีด]] ในปี [[พ.ศ. 2484]] (ค.ศ. 1941) , [[The Big Sleep]] ของ [[โฮเวิร์ด ฮอกส์]] ในปี [[พ.ศ. 2489]] (ค.ศ. 1946) เป็นต้น
 
สำหรับภาพยนตร์ฟิล์มนัวร์ ในยุคปัจจุบันนี้ ได้แก่ [[Chinatown]] ของ [[โรมัน โปลันสกี้]] ในปี [[พ.ศ. 2517]] (ค.ศ. 1974) , [[The Postman Always Rings Twice]] ของ [[บ๊อบ ราเฟลสัน]] ในปี [[พ.ศ. 2524]] (ค.ศ. 1981) , [[Miller's Crossing]] ของ [[โจเอล โคแฮน]] ในปี [[พ.ศ. 2533]] (ค.ศ. 1990) [[Naked Lunch]] ของ [[เดวิด โครเนนเบิร์ก]] ในปี [[พ.ศ. 2534]] (ค.ศ. 1991) , [[L.A. Confidential]] ของ [[เคอติส แฮนซัน]] ในปี [[พ.ศ. 2539]] (ค.ศ. 1997) , [[Dark City]] ในปี [[พ.ศ. 2541]] (ค.ศ. 1998) ของ [[อเล็ก โพรยาส]], [[บาปฆาตกร|Midnight in the Garden of Good and Evil]] ของ [[คลินต์ อีสต์วูด]] ในปีเดียวกัน, [[Memento]] ของ [[คริสโตเฟอร์ โนแลน]] ในปี [[พ.ศ. 2543]] (ค.ศ. 2000) , [[Femme Fatale]] ของ [[ไบรอัน เดอ พัลม่า]] ในปี [[พ.ศ. 2545]] (ค.ศ. 2002) , [[Sin City]] ของ [[แฟรงก์ มิลเลอร์]] และ [[โรเบิร์ต โรดริเกวซ]] ในปี [[พ.ศ. 2548]] (ค.ศ. 2005), [[Planet Terro]] ของ โรเบิร์ต โรดริเกวซ ในปี [[พ.ศ. 2550]] (ค.ศ. 2007) เป็นต้น
 
สำหรับภาพยนตร์ไทยนั้น ภาพยนตร์ที่สามารถจัดให้อยู่ในประเภทฟิล์มนัวร์ได้นั้น มี [[กะโหลกบางตายช้า กะโหลกหนาตายก่อน]] ในปี [[พ.ศ. 2534]] เป็นเรื่องแรก จากนั้นในอีกหลายปีต่อมาถึงมี [[ดอกไม้ในทางปืน]] ในปี [[พ.ศ. 2542]] โดยผู้กำกับคนเดียวกัน คือ [[มานพ อุดมเดช]] ออกมา
บรรทัด 13:
และก็ยังมี ห้องน้ำ ภาพยนตร์แผ่นของ[[อาร์เอส|อาร์.เอส.ฟิล์ม]] และ [[เฉือน]] ของ [[ก้องเกียรติ โขมศิริ]] ในปี [[พ.ศ. 2552]] เป็นต้น
 
==อ้างอิง==
[[หมวดหมู่:ภาพยนตร์ฟิล์มนัวร์]][[หมวดหมู่:ภาพยนตร์แบ่งตามเนื้อหา]]
* ภาพยนตร์ : ความสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์และบริบทศึกษากรณี ฟิล์ม นัวร์ (Film Noir) โดย กฤษดา เกิดดี : วารสารนิเทศศาสตร์ปริทัศน์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ([[มกราคม]] [[พ.ศ. 2541|2541]]) โดย [[คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต]]
 
[[หมวดหมู่:ภาพยนตร์ฟิล์มนัวร์]][[หมวดหมู่:ภาพยนตร์แบ่งตามเนื้อหา]]
{{commons|Category:Film_noir}}
{{Link FA|he}}