ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คลอโรฟิลล์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SieBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: la:Chlorophyllum
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Chloroplasten.jpg|thumb|คลอโรฟิลล์พบได้ตาม[[คลอโรพลาสต์]]]]
 
'''คลอโรฟิลล์''' ({{lang-en|Chlorophyll}}) เป็นสารประกอบที่พบได้ในส่วนที่มีสีเขียวของ[[พืช]] โดยพบมากที่ใบ นอกจากนี้ยังพบได้ที่ลำต้น ดอก ผลและรากที่มีสีเขียว และยังพบได้ในสาหร่ายทุกชนิด นอกจากนี้ยังพบได้ใน[[แบคทีเรีย]]บางชนิด คลอโรฟิลล์ทำหน้าที่เป็น[[โมเลกุล]]รับพลังงานจาก[[แสง]] และนำพลังงานดังกล่าวไปใช้ในการสร้าง[[พลังงานเคมี]]โดยกระบวน[[การสังเคราะห์ด้วยแสง]] เพื่อสร้าง[[สารอินทรีย์]] เช่น น้ำตาล และนำไปใช้เพื่อการดำรงชีวิต <ref>วงษ์จันทร์ วงษ์แก้ว. 2535. หลักสรีรวิทยาของพืช. กรุงเทพฯ, ฟันนี่พับบลิชชิ่ง</ref> คลอโรฟิลล์ อยู่ในโครงสร้างที่เรียกว่า [[เยื่อหุ้มไทลาคอยล์]] (Thylakoid membrane) ซึ่งเป็นเยื่อหุ้มที่อยู่ภายใน [[คลอโรพลาสต์ ]] (Chloroplast) <ref name="ภาคภูมิ พระประเสริฐ">ภาคภูมิ พระประเสริฐ. ''สรีรวิทยาของพืช''. กรุงเทพฯ, โอเดียนสโตร์. 2550</ref>
 
== โครงสร้างทางเคมี ==
บรรทัด 17:
 
- Different pigments absorbs light of different wavelength.
- Green plants have five closely-related photosynthetic pigments (in order of increasing polarity)
(คือ เรียงลำดับเม็ดสีที่ได้ โดยดูจากความมีขั้วน้อย-มาก ของเม็ดสีแต่ละชนิด)
 
บรรทัด 26:
5.Phaeophytin - a gray pigment
 
อธิบายได้ว่า Carotene มีขั้วน้อยที่สุด (หรืออาจไม่มีขั้ว ไม่แน่ใจ) แล้วก็ไล่ระดับความมีขั้วเพิ่มขึ้นมาเรื่อยๆจนมากที่สุดที่ Phaeophytin
ซึ่ง Phaeophytin มันจะมองไม่เห็นกันในการทดลองเพราะว่ามีสีเทา ซึ่งกระดาษที่ใช้ในการทำpaper chromatography มีสีขาว จึงทำให้มองเห็นยาก หรือไม่เห็นสีเทาของPhaeophytinเลย