ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 55:
: ''ดูบทความหลัก [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า#การสืบตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์|การสืบตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์]]''
เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษนั้น สามารถสืบตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ได้ โดยบุตรชายของผู้ได้รับพระราชทานนั้น จะได้รับสืบตระกูลเมื่อบิดาล่วงลับไปแล้ว และการสืบตระกูลจะสิ้นสุดลงเพียงชั้นนี้เท่านั้น<ref name="พรบ2484"/>
 
=== เกียรติยศศพ ===
ผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า เมื่อวายชนม์จะใช้คำว่า "ถึงแก่อนิจกรรม"<ref>สุดสงวน, [http://www.sakulthai.com/DSakulcolumndetailsql.asp?stcolumnid=3669&stissueid=2629&stcolcatid=2&stauthorid=17 ตอน “การใช้ภาษาในภาวะวิกฤต”], สกุลไทย, ฉบับที่ 2629, ปีที่ 51, ประจำวันอังคารที่ 8 มีนาคม 2548</ref><ref>[http://rirs3.royin.go.th/dictionary.asp พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (ออนไลน์) พ.ศ. 2542 : อสัญกรรม]</ref> และจะได้รับพระราชทานเกียรติยศศพ แต่ถ้าผู้วายชนม์เป็นสมาชิกราชตระกูล ดำรงตำแหน่งสำคัญ หรือได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลอื่นที่มีลำดับเกียรติสูงกว่าก็อาจได้รับเกียรติยศศพสูงขึ้น โดยจะได้รับพระราชทานเกียรติยศศพ ดังนี้
{{col-begin}}
{{col-2}}
;ฝ่ายใน
* น้ำหลวง เพลิงหลวง
* [[โกศแปดเหลี่ยม]]
* [[ฉัตรเบญจา]]
* [[ปี่]] [[กลองชนะ]] ประโคมเวลารับพระราชทานน้ำอาบศพ
* พระพิธีธรรม สวดพระอภิธรรม 3 คืน
{{col-2}}
;ฝ่ายหน้า
* น้ำหลวง เพลิงหลวง
* [[โกศโถ]]
* [[ฉัตรเบญจา]]
* [[ปี่]] [[กลองชนะ]] ประโคมเวลารับพระราชทานน้ำอาบศพ
{{col-end}}
 
== อ้างอิง ==