ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรดนิวคลีอิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Violy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Violy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
อาจจำแนกได้เป็น
 
*'''DNA''' [[DNA]] (deoxyribonucleic acid)]] พบใน[[นิวเคลียส]]ของ[[เซลล์]] เป็นสารพันธุกรรม ในธรรมชาติส่วนใหญ่มักอยู่ในรูปเกลียวคู่

( Double standed DNA )
 
DNA ที่อยู่ในเซลล์มีจำนวนมากมักมีโครโมโซมเรียงตัวกันเป็นคู่หรือดิพลอยด์
 
'''==ขนาดและรูปร่าง'''==
รูปร่างของ DNA ในสิ่งมีชีวิตแต่ละประเภทแตกต่างกัน เช่น เซลล์โพรคาริโอต ไวรัส แบคทีเรีย รวมทั้งคลอโรพลาสต์และไมโตคอนเดรีย ที่มี DNA เป็นวงแหวนเกลียวคู่
ส่วนในยูคาริโอต มี 2 ชนิด คือ ชนิดที่อยู่ในนิวเคลียส เรียก nuclear DNA อยู่ในรูปเกลียวคู่ปลายเปิด และชนิดที่อยู่ในไมโตคอนเดรียเรียก Mitochondrial DNA
มีลักษณะเป็นวงแหวนเกลียวคู่ และขดตัวเป็นเกลียวคู่ยิ่งยวด ในพืชพบ DNA ทั้งในนิวเคลียสและคลอโรพลาสต์
'''==ลักษณะที่สำคัญของ DNA'''==
Watsan และ Crick พบว่าโครงสร้างตามธรรมชาติของ DNA ในเซลล์ทุกชนิดเป็นเกลียวคู่ซึ่งมีโครงสร้างที่เสถียรที่สุด โดยมีเบสอยู่ด้านในระหว่างสายของ DNA ทั้ง 2
ในลักษณะที่ตั้งฉากกับแกนหลักและวางอยู่ในระนาบเดียวกัน การที่เบสวางอยู่ในสภาพเช่นนี้ทำให้เบสระหว่างอะดีนีนและไทมีนสามารถเกิดพันธะได้ 2 พันธะ และเบสระหว่าง
เส้น 27 ⟶ 29:
การจับกันของเบสคู่สม ( base complementary )
 
'''==สมบัติของ DNA ในสารละลาย'''==
 
สมบัติเกี่ยวกับกรดและเบส DNA แสดงสมบัติเป็นกรดเนื่องจากหมู่ฟอสเฟตที่อยู่ในพันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์มีค่า pKa ประมาณ 2.1 ฉะนั้นที่ pH ปกติในเซลล์ของร่างกาย
เส้น 35 ⟶ 37:
เช่น ฮีสโทน (histone) โพรทามีน (protamine)
 
'''==สมบัติเกี่ยวกับความหนืด'''==
 
โมเลกุลของ DNA มีลักษณะยาวมากเมื่อเทียบกับเส้นผ่าศูนย์กลาง มีผลทำให้สารละลายของ DNA มีความข้นเหนียวอย่างมาก แม้จะมี DNA ในปริมาณความเข้มข้นต่ำๆ
 
'''==สมบัติเกี่ยวกับการเซดิเมนต์'''==
 
ในสารละลายที่เป็นกรด ( pH = 3 )ในแฮลกอฮอล์หรือในตัวทำละลายที่ไม่มีขั้ว ( nonpolar solvent ) DNA สามารถตกตะกอนได้เนื่องจากโมเลกุล