ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรดนิวคลีอิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Violy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Violy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
ของนิวคลีโอไทด์โมเลกุลหนึ่งกับหมู่ไฮดรอกซิลที่ตำแหน่ง 3' ในโมเลกุลถัดไป จึงทำให้นิวคลีโทไทด์มีโครงสร้างเป็นสันหลัง ( backbone ) เป็นฟอสเฟตกับน้ำตาล
และมีแขนงข้างเป็นเบส..
 
อาจจำแนกได้เป็น
* [[DNA]] (deoxyribonucleic acid) พบใน[[นิวเคลียส]]ของ[[เซลล์]] เป็นสารพันธุกรรม ในธรรมชาติส่วนใหญ่มักอยู่ในรูปเกลียวคู่ ( Double standed DNA )
DNA ที่อยู่ในเซลล์มีจำนวนมากมักมีโครโมโซมเรียงตัวกันเป็นคู่หรือดิพลอยด์
'''ขนาดและรูปร่าง'''
รูปร่างของ DNA ในสิ่งมีชีวิตแต่ละประเภทแตกต่างกัน เช่น เซลล์โพรคาริโอต ไวรัส แบคทีเรีย รวมทั้งคลอโรพลาสต์และไมโตคอนเดรีย ที่มี DNA เป็นวงแหวนเกลียวคู่
ส่วนในยูคาริโอต มี 2 ชนิด คือ ชนิดที่อยู่ในนิวเคลียส เรียก nuclear DNA อยู่ในรูปเกลียวคู่ปลายเปิด และชนิดที่อยู่ในไมโตคอนเดรียเรียก Mitochondrial DNA
มีลักษณะเป็นวงแหวนเกลียวคู่ และขดตัวเป็นเกลียวคู่ยิ่งยวด ในพืชพบ DNA ทั้งในนิวเคลียสและคลอโรพลาสต์
ซึ่งนอกจากจะมีรูปร่างต่างกันแล้วขนาดของ DNA ก็แตกต่างกัน ในโพรคาริโอตมีขนาดใหญ่กว่าไวรัส ตัวอย่างเช่น E.coli มีขนาดใหญ่กว่าแบคทีเรียโอฟาจ 200 เท่า
ในขณะที่สิ่งมีชีวิตชั้นสูงมี DNA ถึงพันล้านเบสโดยเฉพาะในคนมีมากกว่า E.coli ถึง 600 เท่า
'''ลักษณะที่สำคัญของ DNA'''
Watsan และ Crick พบว่าโครงสร้างตามธรรมชาติของ DNA ในเซลล์ทุกชนิดเป็นเกลียวคู่ซึ่งมีโครงสร้างที่เสถียรที่สุด โดยมีเบสอยู่ด้านในระหว่างสายของ DNA ทั้ง 2
ในลักษณะที่ตั้งฉากกับแกนหลักและวางอยู่ในระนาบเดียวกัน การที่เบสวางอยู่ในสภาพเช่นนี้ทำให้เบสระหว่างอะดีนีนและไทมีนสามารถเกิดพันธะได้ 2 พันธะ และเบสระหว่าง
กวานีนกับไซโทซีนเกิดได้ 3 พันธะ ซึ่งการเข้าคู่กันนี้ถ้าสลับคู่กันจะทำให้พลังงานที่ยึดเหนี่ยวไม่เหมาะสมกับการเข้าคู่ เพื่อเกิดเกลียวคู่ของ DNA
 
* [[RNA]] (ribonucleic acid) พบในนิวเคลียสและ[[ไซโตพลาสซึม]]ของสิ่งมีชีวิต มีหน้าที่หลักในการสังเคราะห์[[โปรตีน]]ภายในเซลล์