ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อีโอซิโนฟิล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
อีโอสิโนฟิล ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น อีโอซิโนฟิล ทับหน้าเปลี่ยนทาง: ใช้ตาม ICD-10 TM
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Eosinophil.png|thumb|ลักษณะของ Eosinophil อีโอซิโนฟิล]]
 
'''อีโอสิซิโนฟิล''' ({{lang-en|Eosinophil}}) เป็น[[เม็ดเลือดขาว]]ชนิดมีแกรนูล โดยมี[[นิวเคลียส]]ขนาดใหญ่ ปกติจะเห็นเป็น 2 lobe และสามารถเห็นแกรนูลชัดเจนโดยมีขนาดประมาณ 0.5 ไมครอน ซึ่งจะติดสีแดงอิฐเมื่อมองดูจาก[[ฟิล์มเลือด]] โดยปกติเราสามารถพบ eosinophil อีโอซิโนฟิลในไขกระดูกประมาณ 0-3 เปอร์เซนต์ และในกระแสเลือด ประมาณ 0-4 เปอร์เซนต์ต่อเม็ดเลือดขาวทั้งหมด หรือประมาณ 0-432 เซลล์ต่อลูกบาศก์มิลลิลิตร
 
Eosinophil สร้างจากอีโอซิโนฟิลสร้างจาก[[ไขกระดูก]] โดยใช้ระยะเวลาประมาณ 3-6 วัน หลังจากนั้น จะเข้าสู่กระแสเลือด ประมาณ 6-8 ชั่วโมง และจะกระจายไปตามเนื้อเยื่อต่าง ๆ โดย eosinophil อีโอซิโนฟิลที่อยู่ตามเนื้อเยื่อต่าง ๆ อาจจะกลับเข้าไปสู่กระแสเลือดและไขกระดูกอีกก็ได้ นอกจากนี้ พบว่า eosinophil อีโอซิโนฟิลสามารถเคลื่อนที่ไปยังเนื้อเยื่อที่เกิดการอักเสบอีกด้วย
 
โดยปกติ eosinophil อีโอซิโนฟิลมีหน้าที่เกี่ยวข้องการตอบสนองต่อการติดเชื้อ[[พยาธิ]] การแพ้ หรือ การอักเสบ โดยภาวะที่พบ eosinophil สูงนั้นอีโอซิโนฟิลสูงนั้น อาจจะเกิดจากหลายสาเหตุ อาทิเช่น ร่างกายเกิดอาการแพ้ (Allergic disorders) การติดเชื้อพยาธิ โรคผิวหนังบางชนิด เป็นต้น
 
== รูปเพิ่มเติม ==
<gallery>
ภาพ:Eosinophil2.png|ลักษณะของ eosinophilอีโอซิโนฟิล
ภาพ:Eosinophil.jpg|ลักษณะของ eosinophilอีโอซิโนฟิล
ภาพ:Hematopoiesis (human) diagram.png|การกำเนิดและวิวัฒนาการของเซลล์เม็ดเลือด
</gallery>
 
== อ้างอิง ==
* พรเทพ เทียนสิวากุล,โลหิตวิทยาคลินิก,สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
* สุภินันท์ สเป็ค-สายเชื้อ,โลหิตวิทยา,2534