ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตำบลนางบวช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rsu dermbang (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:PraajarnThammachoat.jpg|thumbnail|right|[[พระอาจารย์ธรรมโชติ]]เป็นพระที่มีชื่อเสียงในตำบลนางบวช [[อำเภอเดิมบางนางบวช]] [[จังหวัดสุพรรณบุรี]]]]
==ตำบลนางบวช==
'''ตำบลนางบวช''' เป็นตำบลหนึ่งใน[[อำเภอเดิมบางนางบวช]] [[จังหวัดสุพรรณบุรี]] ประชากรมีเพศชาย 900 คน เพศหญิง 900 คน คน คนส่วนใหญ่อยู่ในวัยผู้ใหญ่และวัยชรา{{อ้างอิง}} ภาษาที่ชาวบ้านแถวนี้ใช้กัน คือ ภาษาไทยกลาง แต่ สำเนียงการพูด จะแตกต่างกันไปบ้าง{{อ้างอิง}}
 
===ประวัติชุมชน ===
==ลักษณะเด่นชุมชนนางบวช==
ราวปี พ.ศ. 1826 มีหญิงชื่อว่าชบา เป็นสนมแห่งพระร่วงเจ้า [[กรุงสุโขทัย]] เกิดความเบื่อหน่ายในเพศฆารวาส จึงหนีออกบวชและมาอาศัยอยู่ในถ้ำบริเวณเขาในบริเวณนี้ คนทั้งหลายจึงเรียกว่าเขานางบวช ชุมชนนี้เป็นชุมชนเกษตรกรรมมาแต่ดั้งแต่เดิมเนื่องจากมี[[แม่น้ำท่าจีน]]ไหลผ่านเหมาะแก่การทำ[[การเกษตร]]
 
===ภาพรวมชุมชน===
ชาวบ้านนิยมสร้างบ้านติดแม่น้ำ และอาชีพส่วนใหญ่คือเกษตรกร ลักษณะบ้านที่อยู่เป็นบ้านยกใต้ถุนสูง และจะมีโอ่งน้ำที่บ้าน
 
===ประวัติชุมชน===
ราวปีพ.ศ.1826 มีหญิงชื่อว่าชบา เป็นสนมแห่งพระร่วงเจ้า [[กรุงสุโขทัย]] เกิดความเบื่อหน่ายในเพศฆารวาส จึงหนีออกบวชและมาอาศัยอยู่ในถ้ำบริเวณเขาในบริเวณนี้ คนทั้งหลายจึงเรียกว่าเขานางบวช ชุมชนนี้เป็นชุมชนเกษตรกรรมมาแต่ดั้งแต่เดิมเนื่องจากมี[[แม่น้ำท่าจีน]]ไหลผ่านเหมาะแก่การทำ[[การเกษตร]]
 
===ประเพณี และวัฒนธรรม===
ทุกปีจะมีพิธี[[ตักบาตรเทโว]] บริเวณวัดเขานางบวช ซึ่งเป็นพิธีทำบุญของชาวไทยในเทศกาล[[ออกพรรษา]] งานเริ่มหลังจากวันออกพรรษา ๑ วัน คือ แรม ๒ ค่ำ เดือน ๑๑
 
===สัญลักษณ์ชุมชน===
[[ไฟล์:PraajarnThammachoat.jpg|thumbnail|right|[[พระอาจารย์ธรรมโชติ]]เป็นพระที่มีชื่อเสียงในตำบลนางบวช [[อำเภอเดิมบางนางบวช]] [[จังหวัดสุพรรณบุรี]]]]
 
รูปปั้น[[พระอาจารย์ธรรมโชติ]] ณ วัดเขานางบวช
 
===ภูมิศาสตร์===
พื้นที่โดยมากเป็นที่ราบลุ่ม และมีภูเขาบ้างเพียงเล็กน้อย มีแม่น้ำท่าจีนไหลผ่าน
 
[[หมวดหมู่:จังหวัดสุพรรณบุรี]]
===การคมนาคม===
สามารถเดินทางได้ทั้งทางรถ และทางเรือ แต่ปัจจุบันนี้ไม่นิยมเดินทางโดยเรือ เนื่องจากมีถนนทุกหมู่บ้าน
 
===ทรัพยากร===
ทรัพยากรที่สำคัญของตำบลนางบวชแห่งนี้ คือ ที่นาและ[[แม่น้ำท่าจีน]]
 
===จำนวนประชากร===
เพศชาย 900 คน เพศหญิง 900 คน คน คนส่วนใหญ่อยู่ในวัยผู้ใหญ่และวัยชรา
 
===ภาษา===
ภาษาที่ชาวบ้านแถวนี้ใช้กัน คือ ภาษาไทยกลาง แต่ สำเนียงการพูด จะแตกต่างกันไปบ้าง
 
===ศาสนา===
ชาวบ้านในบริเวณนี้จะนับถือศาสนาพุทธเป็นหลัก แต่ก็มีชาวบ้านบางส่วนนับถือศาสนาอิสลาม
 
===การศึกษา===
เนื่องจากส่วนใหญ่ ประชากรที่นี่อยู่ใน[[วัยชรา]] การศึกษาที่นี่จึงไม่ค่อยมากนัก แต่ก็มีบางส่วนได้รับการศึกษาในระดับสูง ที่นี่มี[[โรงเรียน]]เพื่อถ่ายทอดการศึกษาให้แก่นักเรียน จนจบ[[มัธยมศึกษา]]ปีที่ 6
 
==วิถีการดำเนินชีวิต==
 
==วิถีชีวิต(way of life)==
 
==รูปแบบสถาปัตยกรรมชุมชน==