ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไรโบโซม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PAHs (คุย | ส่วนร่วม)
PAHs (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 7:
 
==คำจำกัดความ==
ไรโบโซมมีสองหน่วยย่อย ซึ่งจับเข้าด้วยกันและทำงานร่วมกันในการถอดรหัสจาก [[mRNA]] ไปเป็นโพลีเปบไทด์ระหว่างการสังเคราะห์โปรตีน ใน[[แบคทีเรีย]] มี rRNA 1- 2 ชิ้นแต่ใน [[ยูคาริโอต]] มีสามชิ้นหรือมากกว่าและมีขนาดใหญ่กว่า และมีโปรตีนขนาดเล็กๆอีกหลายชนิด แต่โปรตีนเหล่านี้ไม่ได้ทำงานโดยตรงกับการสังเคราะห์โปรตีน จึงคาดว่าส่วนของโปรตีนเพียงทำหน้าที่ห่อหุ้ม rRNA ไว้
ส่วนของไรโบโซมที่ทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยาการ[[ทรานสเลชัน]]เพื่อสร้างโปรตีนนั้นเป็น RNA ทำให้ในปัจจุบันจัดให้ไรโบโซมเป็น เอนไซม์ชนิด"[[ไรโบไซม์]]" ซึ่งต่างจากเอนไซม์ทั่วไปที่ใช้โปรตีนเป็นส่วนที่เร่งปฏิกิริยา <ref>{{cite journal |author=Rodnina MV, Beringer M, Wintermeyer W |title=How ribosomes make peptide bonds |journal=Trends Biochem. Sci. |volume=32 |issue=1 |pages=20–6 |year=2007 |pmid=17157507 |doi=10.1016/j.tibs.2006.11.007}}</ref> การที่ไรโบโซมใช้ RNA เป็นส่วนเร่งปฏิกิริยานี้ จึงเป็นที่มาของการตั้ง[[สมมติฐานโลกของ RNA|สมมติฐานที่ว่าในอดีตเซลล์เคยใช้อาร์เอ็นเอในการเร่งปฏิกิริยามาก่อน แล้วจึงเปลี่ยนเป็นโปรตีนที่เป็นเอนไซม์ในภายหลัง จึงเชื่อว่าเป็นส่วนที่เหลืออยู่ของ [[สมมติฐานโลกของ RNA|โลกของ RNA]].<ref>{{cite journal |author=Cech T |title=Structural biology. The ribosome is a ribozyme |journal=Science |volume=289 |issue=5481 |pages=878–9 |year=2000 |pmid=10960319 | doi = 10.1126/science.289.5481.878 <!--Retrieved from CrossRef by DOI bot-->}}</ref>
 
ส่วนของไรโบโซมที่ทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยาการ[[ทรานสเลชัน]]เพื่อสร้างโปรตีนนั้นเป็น RNAอาร์เอ็นเอ ทำให้ในปัจจุบันจัดให้ไรโบโซมเป็น เอนไซม์ชนิด"[[ไรโบไซม์]]" ซึ่งต่างจากเอนไซม์ทั่วไปที่ใช้โปรตีนเป็นส่วนที่เร่งปฏิกิริยา <ref>{{cite journal |author=Rodnina MV, Beringer M, Wintermeyer W |title=How ribosomes make peptide bonds |journal=Trends Biochem. Sci. |volume=32 |issue=1 |pages=20–6 |year=2007 |pmid=17157507 |doi=10.1016/j.tibs.2006.11.007}}</ref> การที่ไรโบโซมใช้ RNA เป็นส่วนเร่งปฏิกิริยานี้ จึงเป็นที่มาของการตั้ง[[สมมติฐานโลกของ RNA|สมมติฐาน]]ที่ว่าในอดีตเซลล์เคยใช้อาร์เอ็นเอในการเร่งปฏิกิริยามาก่อน แล้วจึงเปลี่ยนเป็นโปรตีนที่เป็นเอนไซม์ในภายหลัง จึงเชื่อว่าเป็นส่วนอาร์เอ็นเอที่เร่งปฏิกิริยาได้ที่ยังเหลืออยู่ของคือไรโบไซม์ [[สมมติฐานโลกของ RNA|โลกของ RNA]].และไรโบไซม์ที่เป็นที่รู้จักดีที่สุดคือไรโบโซม<ref>{{cite journal |author=Cech T |title=Structural biology. The ribosome is a ribozyme |journal=Science |volume=289 |issue=5481 |pages=878–9 |year=2000 |pmid=10960319 | doi = 10.1126/science.289.5481.878 <!--Retrieved from CrossRef by DOI bot-->}}</ref>
ไรโบโซมสร้างโปรตีนจากรหัสพันธุกรรมใน [[mRNA]] ไรโบโซมอิสระอยู่ใน [[ไซโตซอล]] (ส่วนที่เป็นกึ่งของเหลวของ[[ไซโทพลาสซึม]]); อีกส่วนจะจับอยู่กับ [[RER]] หรือ [[เยื่อหุ้มนิวเคลียส]] การสลาย [[พันธะเปบไทด์]] เกี่ยวข้องกับหมู่ไฮดรอกซิลของ C2 ของ RNA ที่มีเบส A ตำแหน่ง P
 
ในบางครั้งไรโบโซมจัดให้ไรโบโซมเป็นออร์แกแนลล์ แต่ออร์แกแนลล์โดยทั่วไปออร์แกแนลล์มักจะหมายถึงเป็นส่วนที่เป็นบริเวณย่อยของเซลล์และมีเยื่อหุ้ม ซึ่งไรโบโซมไม่มีเยื่อหุ้ม บางครั้งจึงเรียกไรโบโซมว่าออร์แกแนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม พบไรโบโซมครั้งแรกเมื่อราว พ.ศ. 2493 โดยนักชีววิทยาชาวโรมาเนีย George Palade ซึ่งใช้ [[กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน]] และพบแกรนูลหรืออนุภาคที่หนาแน่นในเซลล์ <ref>G.E. Palade. (1955) "A small particulate component of the cytoplasm." ''J Biophys Biochem Cytol.'' Jan;1(1): pages 59-68. PMID 14381428</ref> การค้นพบนี้ทำให้เขาได้รับ[[รางวัลโนเบล]] คำว่า "ribosome" เสนอโดย Richard B. Roberts ใน พ.ศ. 2501
 
โครงสร้างและการทำงานของไรโบโซมและโมเลกุลที่เกี่ยวข้องในกระบวนการทรานสเลชัน ยังเป็นที่สนใจของ[[นักวิทยาศาสตร์]]และจัดเป็นสาขาหนึ่งทางด้าน[[ชีววิทยาของเซลล์]]
พบไรโบโซมครั้งแรกเมื่อราว พ.ศ. 2493 โดยนักชีววิทยาชาวโรมาเนีย George Palade ซึ่งใช้ [[กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน]] และพบแกรนูลหรืออนุภาคที่หนาแน่นในเซลล์ <ref>G.E. Palade. (1955) "A small particulate component of the cytoplasm." ''J Biophys Biochem Cytol.'' Jan;1(1): pages 59-68. PMID 14381428</ref> การค้นพบนี้ทำให้เขาได้รับ[[รางวัลโนเบล]] คำว่า "ribosome" เสนอโดย Richard B. Roberts ใน พ.ศ. 2501
โครงสร้างและการทำงานของไรโบโซมและโมเลกุลที่เกี่ยวข้องในกระบวนการทรานสเลชัน ยังเป็นที่สนใจของนักวิทยาศาสตร์และจัดเป็นสาขาหนึ่งทางด้านชีววิทยาของเซลล์
 
ไรโบโซมสร้างโปรตีนจากรหัสพันธุกรรมใน [[mRNA]] ไรโบโซมอิสระอยู่ใน [[ไซโตซอล]] (ส่วนที่เป็นกึ่งของเหลวของ[[ไซโทพลาสซึม]]); อีกส่วนจะจับอยู่กับ [[RER]] หรือ [[เยื่อหุ้มนิวเคลียส]] การสลาย [[พันธะเปบไทด์]] เกี่ยวข้องกับหมู่ไฮดรอกซิลของ C2 ของ RNA ที่มีเบส A ตำแหน่ง P
ไรโบโซมมีสองหน่วยย่อย ซึ่งจับเข้าด้วยกันและทำงานร่วมกันในการถอดรหัสจาก [[mRNA]] ไปเป็นโพลีเปบไทด์ระหว่างการสังเคราะห์โปรตีน ใน[[แบคทีเรีย]] มี rRNA 1- 2 ชิ้นแต่ใน [[ยูคาริโอต]] มีสามชิ้นหรือมากกว่าและมีขนาดใหญ่กว่า และมีโปรตีนขนาดเล็กๆอีกหลายชนิด แต่โปรตีนเหล่านี้ไม่ได้ทำงานโดยตรงกับการสังเคราะห์โปรตีน จึงคาดว่าส่วนของโปรตีนเพียงทำหน้าที่ห่อหุ้ม rRNA ไว้
 
==ตำแหน่งของไรโบโซม==