ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอกสารตัวเขียนสีวิจิตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
[[ภาพ:Meister des Maréchal de Boucicaut 001.jpg|thumb|right|260px|การตกแต่งตัวพยัญชนะตัวแรกและขอบอย่างวิจิตรใน “[[หนังสือประจำชั่วโมง]]” ของฝรั่งเศส ราวปี ค.ศ. 1400]]
 
'''หนังสือวิจิตร''' ([[ภาษาอังกฤษ]]: Illuminated manuscript) คือหนังสือต้นฉบับที่ตัวหนังสือตกแต่งเพิ่มเติมด้วยสีสรรค์เช่นตัวหนังสือตัวแรกที่ขยายใหญ่ขึ้นและเล่นลายอย่างวิจิตร หรือเขียนขอบคัน หรือทำเป็น[[จุลจิตรกรรม (หนังสือวิจิตร)|จุลจิตรกรรม]] ตามความหมายตรงตัวจะหมายถึงต้นฉบับที่ตกแต่งด้วยเงินและทอง แต่การใช้กันโดยทั่วไปโดยนักวิชาการสมัยใหม่ในปัจจุบันจะหมายถึงต้นฉบับใดก็ได้ที่มีการตกแต่งหรือหนังสือประกอบภาพจากทั้งทางตะวันตกและทาง[[ศาสนาอิสลาม]]
 
งานหนังสือวิจิตรฉบับแรกที่สุดที่มีการตกแต่งพอประมาณมาจากสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึงที่ 7 ส่วนใหญ่ทำใน[[สาธารณรัฐไอร์แลนด์|ไอร์แลนด์]], [[ประเทศอิตาลี|อิตาลี]] และประเทศอื่นๆ บนผืนแผ่นดินใหญ่ยุโรป ความสำคัญของหนังสือวิจิตรมิใช่เพียงคุณค่าทางวรรณกรรมแต่ยังมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ด้วย ซี่งจะเห็นได้จากต้นฉบับหนังสือวิจิตรที่ทำให้เราเรียนรู้ถึงประวัติศาสตร์ [[โรมัน]]และ [[กรีก]]ที่ตกแต่งโดยผู้บันทึกและตกแต่งหนังสือตามสำนักสงฆ์