ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พนักงานอัยการ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Wizapompian (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 6:
มีหน้าที่สอดส่องดูแลความผิดและชอบของเจ้าเมืองและกรมการเมือง และสอดส่องอรรถคดีความทั่วไปในหัวเมือง
ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2436]] [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้ตั้งกรมอัยการขึ้น [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงมีพระบรมราชโองการ ประกาศรวมพนักงานอัยการ ลงวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2458 และทรงพระราชดำริให้เปลี่ยนชื่อเรียกคำว่า "ยกระบัตร" เป็นคำว่า "อัยการ"
ให้ตั้งกรมอัยการขึ้น
ทั้งหมด ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2459 ตั้งแต่ พ.ศ. 2465 ทรงมีพระบรมราชโองการให้กรมอัยการ ย้ายสังกัดจาก[[กระทรวงยุติธรรม]] ไปสังกัด[[กระทรวงมหาดไทย]]จนกระทั่ง พ.ศ. 2534[[คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ]]รสช.)
[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงมีพระบรมราชโองการ ประกาศรวมพนักงานอัยการ ลงวันที่
11 มีนาคม พ.ศ. 2458 และทรงพระราชดำริให้เปลี่ยนชื่อเรียกคำว่า "ยกระบัตร" เป็นคำว่า "อัยการ"
ทั้งหมด ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2459
ตั้งแต่ พ.ศ. 2465 ทรงมีพระบรมราชโองการให้กรมอัยการ ย้ายสังกัดจาก[[กระทรวงยุติธรรม]]
ไปสังกัด[[กระทรวงมหาดไทย]]จนกระทั่ง พ.ศ. 2534[[คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ]]รสช.)
ได้มีประกาศ รสช. ฉบับที่ 47 และฉบับที่ 49 แยกกรมอัยการออกจากกระทรวงมหาดไทย
ไปเป็นหน่วยงานราชการอิสระ อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของนายกรัฐมนตรี เปลี่ยนชื่อจาก “กรมอัยการ”
เป็น “สำนักงานอัยการสูงสุด” และเปลี่ยนชื่อตำแหน่ง “อธิบดีกรมอัยการ” เป็น “อัยการสูงสุด” ต่อมาเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2550 ตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 255 ได้บัญญัติให้ องค์กรอัยการ เป็นองค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ กำหนดให้พนักงานอัยการ มีอำนาจหน้าที่ตามที่บัญญัติในรัฐธรรมนูญ และตามกฎหมายว่าด้วยอำนาจหน้าที่ของพนักงานอัยการและกฎหมายอื่น
ต่อมาเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2550 ตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 255
ได้บัญญัติให้ องค์กรอัยการ เป็นองค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ กำหนดให้พนักงานอัยการ มีอำนาจหน้าที่ตามที่
บัญญัติในรัฐธรรมนูญ และตามกฎหมายว่าด้วยอำนาจหน้าที่ของพนักงานอัยการและกฎหมายอื่น
โดยให้มีอิสระในการพิจารณาสั่งคดีและปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปโดยเที่ยงธรรม การแต่งตั้งและการให้
อัยการสูงสุดพ้นจากตำแหน่งต้องเป็นไปตามมติของคณะกรรมการอัยการ และได้รับความเห็นชอบจากวุฒิสภา ผลตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ดังกล่าว เป็นการยกฐานะสำนักงานอัยการสูงสุดให้เป็นองค์การอื่นตามรัฐธรรมนูญที่มีความเป็นอิสระ ไม่อยู่ในบังคับบัญชาและกำกับดูแลของนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม โดยต้องรับผิดชอบต่อรัฐสภา ทั้งเป็นการยกฐานะตำแหน่ง อัยการสูงสุด ให้เทียบเท่ากับตำแหน่ง นายกรัฐมนตรี ประธานรัฐสภา และประธานศาลฎีกา เป็นครั้งแรก
ผลตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ดังกล่าว เป็นการยกฐานะสำนักงานอัยการสูงสุด
ให้เป็นองค์การอื่นตามรัฐธรรมนูญที่มีความเป็นอิสระ ไม่อยู่ในบังคับบัญชาและกำกับดูแลของนายกรัฐมนตรี
และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม โดยต้องรับผิดชอบต่อรัฐสภา ทั้งเป็นการยกฐานะตำแหน่ง อัยการสูงสุด
ให้เทียบเท่ากับตำแหน่ง นายกรัฐมนตรี ประธานรัฐสภา และประธานศาลฎีกา เป็นครั้งแรก
 
== ดูเพิ่ม ==