ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เฟื้อ หริพิทักษ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2T (คุย | ส่วนร่วม)
Dr somboon (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ภาพ:เฟื้อ หริพิทักษ์.jpg|200px|thumb|right|นายเฟื้อ หริพิทักษ์]]
'''นายเฟื้อ หริพิทักษ์''' [[ศิลปินแห่งชาติ]] สาขาทัศนศิลป์ ประจำปี พ.ศ. 2528๒๕๒๘ เป็น[[ศิลปิน]]และ[[จิตรกร]] ผู้ได้รับการยกย่องเป็น “ครูใหญ่ในวงการศิลปะ” ได้รับ[[รางวัลแมกไซไซ]] สาขาบริการสาธารณะ เมื่อ พ.ศ. 2526๒๕๒๖
 
นายเฟื้อ หริพิทักษ์ เกิดเมื่อ ๒๒ เม.. 2453๒๔๕๓ ที่[[จังหวัดธนบุรี]] ต่อมา พ.ศ. 2468๒๔๖๘ ได้เข้ารับการศึกษาระดับประถมศึกษาที่วัดสุทัศน์ และระดับมัธยมที่[[โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร]] และวัด[[เบญจมบพิธ]] เข้าทำงานที่[[วิทยาลัยช่างศิลป์]] [[กรมศิลปากร]] จากนั้น พ.ศ. 2483๒๔๘๓ ได้เดินทางไปศึกษาที่[[มหาวิทยาลัยวิศวะ – ภารติ]] ที่[[ประเทศอินเดีย]] รับราชการเป็นอาจารย์สอนศิลปะรุ่นแรกของ[[มหาวิทยาลัยศิลปากร]] และได้รับทุนไปศึกษาต่อที่[[ประเทศอิตาลี]] เมื่อ พ.ศ. 2497๒๔๙๗ ได้สร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมจนได้รับการยกย่องเป็นศิลปินชั้นเยี่ยมสาขาจิตรกรรม
 
นายเฟื้อ หริพิทักษ์ เป็นผู้สนใจศึกษาศิลปะอย่างมุ่งมั่นลึกซึ้ง ด้วยการค้นหาแนวทางสร้างสรรค์ให้เหมาะกับการแสดงออกทางด้านจิตรกรรม ที่มีลักษณะเฉพาะตนโดยการถ่ายทอดสภาพแวดล้อม บรรยากาศ แสงเงา ประกอบกับความคิดคำนึงเรื่องสีสันที่เป็นลักษณะตามสายสกุลศิลปะยุโรป (อิตาลี) ใช้ฝีแปรงที่ฉับพลัน ดังปรากฏในผลงานจิตรกรรมมากมาย อาทิ จิตรกรรมทิวทัศน์เมืองเวนิชที่อิตาลี ทิวทัศน์เมืองเชียงใหม่ ภาพเหมือนคุณยายของฉัน ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ฯลฯ
 
นอกจากนี้ นายเฟื้อ หริพิทักษ์ ยังทำการสำรวจโดยคัดลอก[[จิตรกรรมฝาผนัง]]ตามวัดสำคัญที่เป็นโบราณสถานเก็บไว้เป็นหลักฐานมรดกทางประวัติศาสตร์ศิลปะของชาติ มีผลงานซ่อมแซมภาพจิตรกรรมสำคัญในวัดทั่วประเทศไทยทั้งสิ้น 23๒๓,000๐๐๐ วัด ผลงานที่สำคัญชิ้นหนึ่ง คือการบูรณะปฏิสังขรณ์หอไตรปิฎก [[วัดระฆังโฆสิตาราม]]
 
นายเฟื้อ หริพิทักษ์ เคยกล่าวไว้ว่า ''ข้าพเจ้าทำศิลปะด้วยใจรัก เลื่อมใสและจริงใจ มิได้ทำไปเพราะอามิส ข้าพเจ้าทำศิลปะเพื่อศึกษาค้นคว้าหาความจริงในความงามอันเร้นลับอยู่ภายใต้สภาวะธรรมฯ ผลงานอันเกิดจากกำลังกาย กำลังความคิด และกำลังใจของข้าพเจ้า ขอน้อมอุทิศให้ท่านอาจารย์ทั้งหลายของข้าพเจ้า''
 
'''เกียรติยศ'''
นายเฟื้อ หริพิทักษ์ เสียชีวิตเมื่อ พ.ศ. 2536
 
: ศิลปินชั้นเยี่ยม สาขาจิตรกรรม ปี พ.ศ. ๒๕๐๐ และ ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) พ.ศ. ๒๕๒๘
 
การศึกษา :
- เข้ารับการศึกษาระดับประถมศึกษาที่วัดสุทัศน์
- ระดับมัธยมศึกษาที่วัดเบญจมบพิตรและวัดราชบพิธ
๒๔๗๔ - ศึกษาศิลปะที่โรงเรียนเพาะช่าง
๒๔๗๙ - ศึกษาศิลปะที่โรงเรียนประณีตศิลปกรรม กรมศิลปากร
๒๔๘๓ - ศึกษาศิลปะที่มหาวิทยาลัยวิศวะภารติ ณ สันตินิเกตัน ประเทศอินเดีย โดยทุนของ ม.ร.ว. ถนอมศักดิ์ กฤดากร
๒๔๙๗–๙๙ - ได้รับทุนจากรัฐบาลอิตาลีไปศึกษาและดูงานที่ประเทศอิตาลี
๒๕๐๓ - ไปร่วมประชุม ไอ.พี.เอ. ที่เวียนนาและไปดูงานต่อที่ลอนดอน ปารีส อินเดีย
 
การแสดงงาน : ๒๔๘๙ - การประกวดของคณะศิลปินแห่งค่ายกักกัน อินเดีย
๒๔๙๑ - แสดงภาพคัดลอกภาพเขียนโบราณ ณ สถานฑูตไทย ลอนดอน
๒๔๙๒ - การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๑ หอศิลป กรมศิลปากร
๒๔๙๓ - การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๒ หอศิลป กรมศิลปากร
๒๔๙๕ - การแสดงภาพคัดลอกภาพเขียนสีโบราณ มหาวิทยาลัยศิลปากร
๒๔๙๖ - การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๔ หอศิลป กรมศิลปากร
๒๕๐๐ - การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๘ หอศิลป กรมศิลปากร
๒๕๐๒ - แสดงงานร่วมกับการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๑๐ หอศิลป กรมศิลปากร
๒๕๑๐ - แสดงงานเดี่ยว หอขวัญ กรุงเทพฯ
รางวัลเกียรติยศ : ๒๔๘๙ - รางวัลที่ ๑ และรางวัลที่ ๒ การประกวดของคณะศิลปินแห่งชาติ ค่ายกักกัน อินเดีย
๒๔๙๒ - รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง ประเภทจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๑
๒๔๙๓ - รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง ประเภทจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๒
๒๔๙๖ - รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๓ เหรียญทองแดง ประเภทจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๔
๒๕๐๐ - รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง ประเภทจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๘
- ได้รับเกียรติยกย่องให้เป็นศิลปินชั้นเยี่ยม ประเภทจิตรกรรม
๒๕๒๓ - ได้รับพระราชทานปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาจิตกรรม
๒๕๒๖ - ได้รับรางวัลแม็กไซไซ สาขาบริการชุมชน จากมูลนิธิแม็กไซไซ ประเทศฟิลิปปินส์
 
การทำงาน : ๒๔๙๐–๒๕๑๒ - เป็นอาจารย์สอนวิชาจิตรกรรมที่ มหาวิทยาลัยศิลปากร
- เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ หัวหน้าภาควิชาจิตรกรรม
- เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านศิลปไทย ทำการซ่อมอนุรักษ์และคัดลอกภาพเขียนโบราณที่ อยุธยา เพชรบุรี สุโขทัย และจังหวัดภาคเหนือ
๒๕๒๒ - เป็นกรรมการคัดเลือกงานศิลปะ เพื่อส่งไปแสดงในนิทรรศการศิลปะร่วมสมัย ของศิลปินแห่งเอเซีย ปี ๒๕๒๓ ณ ประเทศญี่ปุ่น
๒๕๒๘ - ร่วมวิจัยกับโครงการวิจัยของสถาบันไทยคดีศึกษา เรื่อง "การศึกษาวิเคราะห์คุณค่าภาพจิตรกรรมฝาผนังไทย" จนเสร็จสมบูรณ์
- เป็นนักวิจัยอาวุโสด้านศิลปกรรมไทย ของสถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
 
นายเฟื้อ หริพิทักษ์ เสียชีวิตเมื่อ พ.ศ.เมื่อวันที่ 2536๑๙ ตุลาคม ๒๕๓๖
 
==อ้างอิง==