ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาพเหมือนของนายแพทย์กาแช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 25:
 
==อาการหดหู่==
[[Fileไฟล์:DelacroixTasso.jpg|left|180px|thumb|“ทอร์ควาโท ทาสโซในโรงพยาบาลเซนต์แอนน์ที่เฟอร์รารา” โดย[[เออแฌน เดอลาครัวซ์]]]]
ฟาน ก็อกฮ์หวนคิดถึงภาพเหมือนของกวีชาวอิตาเลียน[[Torquato Tasso|ทอร์ควาโท ทาสโซ]]โดย[[เออแฌน เดอลาครัวซ์]]ในสถานบำบัดผู้ป่วยด้วยโรคจิตหลายครั้ง หลังจากที่ไป[[Montpellier|มงเปลิเยร์]]กับ[[พอล โกแกง]]เพื่อไปดูงานสะสมของ[[Alfred Bruyas|อัลเฟรด บรูยาส์]] ฟาน ก็อกฮ์ก็เขียนจดหมายถึงน้องชาย[[ทีโอ ฟาน ก็อกฮ์ (นักค้าขายศิลปะ)|ทีโอ]]ขอให้ช่วยหาก็อปปีของภาพพิมพ์ของงานเขียนให้<ref>Letter [http://webexhibits.org/vangogh/letter/18/564.htm 564]</ref> สามเดือนกว่าๆ ต่อมาฟาน ก็อกฮ์ก็ได้ความคิดเกี่ยวกับลักษณะของภาพเหมือนที่ต้องการจะเขียน: "แต่จะเป็นภาพที่ประสานกับภาพที่เขียนโดยเออแฌน เดอลาครัวซ์ในการพยายามที่จะแสดง “ทาสโซในที่จำขัง” และภาพอื่นๆ อีกหลายภาพที่แสดงให้เห็นถึงบุคคลิกที่แท้จริง อา! ภาพเหมือน, ภาพเหมือนที่แสดงความคิด, วิญญาณ ของผู้เป็นแบบ, นี่แหละคือสิ่งที่ฉันคิดว่าควรจะเป็นลักษณะที่ปรากฏในภาพ”<ref>Letter [http://webexhibits.org/vangogh/letter/18/531.htm 531]</ref>
 
บรรทัด 32:
 
==ประวัติการเป็นเจ้าของ==
* ภาพดั้งเดิมขายโดยน้องสะไภ้ของฟาน ก็อกฮ์เป็นจำนวน 300 ฟรังก์ในปี ค.ศ. 1897 ต่อมาก็ถูกขายให้แก่ [[Paul Cassirer|พอล คาส์ซิเยร์]] (ค.ศ. 1904), เคสเลอร์ (ค.ศ. 1904) และดรูเอต์ (ค.ศ. 1910) ในปี ค.ศ. 1911 หอศิลป์แห่งรัฐที่[[ฟรังเฟิร์ต]]ก็ซื้อต่อจากดรูเอต์ และตั้งแสดงอยู่ที่นั่นจนกระทั่งปี ค.ศ. 1933 เมื่อถูกนำไปซ่อน ในปี ค.ศ. 1937 ภาพเขียนก็ถูกยึดโดยกระทรวงเพื่อส่งเสริมการประเทืองปัญญาของสาธารณชนและการโฆษณาชวนเชื่อ (Ministry of Public Enlightenment and Propaganda) ซึ่งเป็นสาขางานหนึ่งของ[[นาซี]]ที่พยายามกำจัดภาพเขียนก่อนสงครามที่ถือว่าเป็น [[degenerate art|ศิลปะที่แสดงความเสื่อมโทรมทางวัฒนธรรม]] (degenerate art) ภาพเขียนตกไปเป็นของ[[แฮร์มันน์ เกอริง]]ผู้รีบขายให้แก่นักซื้องานศิลปะใน[[อัมสเตอร์ดัม]] นักซื้อหันไปขายให้กับนักสะสมศิลปะซิกฟรีด ครามาร์สกีผู้นำติดตัวเมื่อหนีไปนิวยอร์คนิวยอร์ก ที่ครามาร์สกีมักจะให้งานศิลปะยืมโดย[[พิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโพลิทัน]] ในปี ค.ศ. 1990 ตระกูลครามาร์สกีก็ประมูลขาย ภาพเขียนมาได้รับความมีชื่อเสียงเมื่อวันที่ [[15 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1990]] เมื่อนักธุรกิจชาวญี่ปุ่น Saitō Ryōei ซื้อภาพในราคา 82.5 ล้านเหรียญสหรัฐในการประมูลที่ห้องประมูลภาพ[[คริสตีส์]]ใน[[นครนิวยอร์คนิวยอร์ก]]ที่ทำให้กลายเป็น[[รายชื่อภาพเขียนที่มีราคาสูงที่สุด|ภาพเขียนที่มีราคาสูงที่สุด]]ในโลกในขณะนั้น Saitō ผู้เป็นประธานกิติมศักดิ์กิตติมศักดิ์ของบริษัทผลิตกระดาษไดโชวะผู้มีอายุ 75 ปีสร้างความโกรธเคืองระดับโลกเมื่อกล่าวว่าจะเผาภาพเขียนพร้อมกับการร่างของตนเองเมื่อเสียชีวิต แต่ต่อมา Saitō ก็พยายามไกล่เกลี่ยว่าความหมายที่ตั้งใจคือต้องการที่จะอนุรักษ์ภาพเขียนตลอดไป ผู้ช่วยของ Saitō ให้คำอธิบายต่อไปว่าคำพูดดังกล่าวเป็นเพียงการพูดเพื่อแสดงความรู้สึกถึงความผูกพันอันลึกซึ้งของ Saitō ต่อภาพเขียน ต่อมา Saitō ก็กล่าวว่าจะอุทิศภาพเขียนให้กับรัฐบาลหรือพิพิธภัณฑ์ หลังจาก Saitō เสียชีวิตในปี ค.ศ. 1996 ที่ตั้งของภาพเขียนและเจ้าของก็กลายเป็นเรื่องลึกลับ แต่มาเมื่อต้นปี ค.ศ. 2007[http://www.artsjournal.com/culturegrrl/2007/01/dr_gachet_sighting_it_was_flot.html] ก็มีข่าวมาว่าภาพเขียนถูกขายไปแล้วสิบปีก่อนหน้านั้นโดย Saitō เองให้แก่นักลงทุนทางการเงินที่เกิดในออสเตรียชื่อวูล์ฟกัง เฟลิทเทิล แต่หลังจากที่ประสบปัญหาทางการเงินเฟลิทเทิลก็ต้องขายภาพเขียนต่อแต่ยังไม่เป็นที่ทราบว่าใครเป็นผู้ซื้อ
 
* ภาพที่สองเป็นของ[[พิพิธภัณฑ์ออร์เซย์]]ใน[[ปารีส]]