ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิเล็กโทรไลต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TobeBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: el:Ηλεκτρολύτης
ArthurBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: fa:الکترولیت; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 6:
การจำแนกอิเล็กโทรไลต์ออกเป็นอิเล็กโทรไลต์เข้มข้นหรือเจือจางสามารถจำแนกได้จากความเข้มข้นของไอออน ถ้าความเข้มข้นมาก จะเรียกว่า อิเล็กโทรไลต์เข้มข้น แต่ถ้ามีความเข้มข้นของไอออนน้อยจะเรียกว่า อิเล็กโทรไลต์เจือจาง ถ้าสัดส่วนการแตกตัวเป็นไอออนของสารใดมีมาก จะเรียกว่าอิเล็กโทรไลต์แก่ แต่ถ้าสัดส่วนนั้นน้อย(ส่วนใหญ่ไม่แตกตัวเป็นไอออน) จะเรียกว่าอิเล็กโทรไลต์อ่อน
 
== ทางสรีรวิทยา ==
ในทางสรีรวิทยา จะมีไอออนเบื้องต้นคือ [[โซเดียม]] [[โพแทสเซียม]] [[แคลเซียม]] [[แมกนีเซียม]] [[คลอรีน|คลอไรด์]] [[ฟอสเฟต]] และ[[ไบคาร์บอเนต]]
 
บรรทัด 15:
การวัดปริมาณของอิเล็กทรไลต์ในร่างกายสามารถทำได้โดยการตรวจเลือดหรือ[[ปัสสาวะ]] แต่ต้องทำไปควบคู่กับการตรวจการทำงานของไต และใช้ข้อมูลจากผลการตรวจที่ผ่านมา โดยการตรวจนี้มักวัดปริมาณของโซเดียมและโพแทสเซียมไอออน แต่การวัดปริมาณคลอไรด์ไอออนต้องใช้วิธีการที่มากกว่านั้น
 
== ทางโภชนาการ ==
เครื่องดื่มที่เป็นอิเล็กโทรไลต์จะประกอบไปด้วยเกลือโซเดียมและโพแทสเซียมซึ่งช่วยเพิ่มปริมาณน้ำและไอออนในร่างกายหลังจากที่เสียน้ำออกจากร่างกายจากกการออกกำลังกาย ท้องเสีย อดอาหารหรืออาเจียน การให้น้ำบริสุทธิ์ไม่ใช่ทางที่ดีที่สุดในการรักษาระดับของเหลวในร่างการเพราะน้ำจะไปทำให้เกลือในเซลล์ในร่างกายเจือจางลง ส่งผลต่อการทำปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ทำให้เกิดความมึนเมาได้
 
บรรทัด 21:
 
เครื่องดื่มอิเล็กโทรไลต์สามารถทำเองได้โดยการผสม[[น้ำตาล]] เกลือและน้ำในสัดส่วนที่เหมาะสม
{{โครงเคมี}}
 
[[หมวดหมู่:เคมี]]
{{โครงเคมี}}
 
[[ar:كهرل]]
บรรทัด 36:
[[es:Electrolito]]
[[et:Elektrolüüt]]
[[fa:الکترولیت]]
[[fi:Elektrolyytti]]
[[fr:Électrolyte]]