ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสอบสนามหลวง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ภาพจากคอมมอนส์
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{พุทธศาสนา}}
'''สอบสนามหลวง''' คือการสอบไล่วัดความรู้[[ปริยัติธรรม|พระปริยัติธรรม]]ของ[[สงฆ์|คณะสงฆ์]]ไทย โดยคำว่า "สนามหลวง" นั้นสันนิษฐานว่ามาจากคำว่า "การสอบพระปริยัติธรรมบาลีใน[[พระบรมมหาราชวัง|พระราชวังหลวง]]" โดยการสอบสนามหลวงในสมัยก่อนนั้น[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]จะทรงรับเป็นพระราชภาระ ถวายความอุปถัมภ์การจัดสอบขึ้นในพระบรมมหาราชวัง โดยจัดสอบแบบปากเปล่า คือ[[ภิกษุ|พระภิกษุ]]หรือ[[สามเณร]]ผู้ศึกษา[[บาลี]]มีความรู้พอสมควรแล้ว เข้าสอบบาลีสนามหลวงโดยการแปล คัมภีร์[[ภาษาบาลี]]เป็น[[ภาษาไทย]] หรือแต่งภาษาไทยเป็นภาษาบาลี ต่อหน้า[[พระที่นั่ง]]และคณะกรรมการพระเถรานุเถระ โดยผู้สอบไล่ได้ในชั้นประโยคต่างๆ จะได้รับการพระราชทาน[[สมณศักดิ์]] [[พัดยศ]] [[ไตรจีวร]] และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งพระภิกษุสามเณรผู้สอบได้ให้เป็น[[เปรียญ]] และรับ[[นิตยภัต]]ของหลวง เป็นการยกย่องเชิดชู
 
== ประวัติความเป็นมาการสอบสนามหลวง ==