ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หิรัณยกศิปุ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Clumsy (คุย | ส่วนร่วม)
ย้ายส่วนขยาย
Cakra (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
 
'''หิรัณยกศิปุ''' ({{lang-sa|हिरण्‍यकशिपु}}) เป็น[[อสูร]]จาก[[คัมภีร์ปุราณะ]]ของ[[ศาสนาฮินดู]] ซึ่งถูก[[นรสิงห์]]ซึ่งเป็น[[อวตาร]]ของ[[พระนารายณ์]]สังหาร โดยสาเหตุที่พระนารายณ์ต้องอวตารลงมาเป็นนรสิงห์เป็นเพราะว่า หิรัณยกศิปุได้รับพรจาก[[พระพรหม]]ว่าจะไม่ถูกสังหารโดยมนุษย์หรือสัตว์ ซึ่งนรสิงห์ก็ไม่ใช่ทั้งมนุษย์หรือสัตว์ หิรัณยกศิปุมีน้องชายชื่อ [[หิรัณยกศะ]] ซึ่งถูก[[วราหะ]] ซึ่งเป็นอวตารของพระนารายณ์สังหารเช่นกัน
 
== เรื่องราวของหิรัณยกศิปุ ==
เรื่องราวของหิรัณยกศิปุปรากฏอยู่ในคัมภีร์[[ภาควตปุราณะ]] ซึ่งได้บรรยายถึงอดีตชาติและสาเหตุที่จะต้องมาเกิดเป็นหิรัณยกศิปุและถูกนรสิงห์ซึ่งเป็นอวตารของพระนารายณ์สังหาร
 
=== ชยและวิชย ===
[[File:Sankadi Muni Bhagavan.jpg|thumb|left|200px|กุมารทั้งสี่]]
ตามเนื้อเรื่องในภาควตปุราณะนั้น [[กุมารทั้งสี่]] ได้แก่ สนก สนนฺทน สนาตน และสนตฺกุมาร ซึ่งเป็นมนสบุตร(บุตรที่เกิดจากความคิด)ของพระพรหม ได้ไปยัง[[ไวกุณฺฐ]]ซึ่งเป็นที่ประทับของพระนารายณ์เพื่อเข้าเฝ้า แต่เนื่องจากกุมารทั้งสี่ยังแลดูเหมือนเด็กน้อย แม้ว่าจะมีอายุมากแล้วก็ตาม ชยและวิชยซึ่งเป็นทวารบาลผู้เฝ้าประตูทางเข้าจึงเข้าไปขวางกุมารทั้งสี่ไม่ให้เข้าไป และได้แจ้งกับกุมารทั้งสี่ว่าพระนารายณ์ทรงกำลังพักผ่อนอยู่ จึงไม่สามารถให้เข้าเฝ้าได้ กุมารทั้งสี่ได้ตอบกลับไปว่าพระนารายณ์นั้นทรงว่างให้เข้าพบเสมอ และได้สาบแช่งทวารบาลทั้งสองให้ไปเกิดในโลกมนุษย์และต้องดำรงชีวิตอย่างมนุษย์ ทันใดนั้นเองพระนารายณ์ได้ปรากฏองค์ขึ้น ทวารบาลทั้งสองจึงได้ทูลของให้พระนารายณ์แก้คำสาปของกุมารทั้งสี่เสีย พระนารายณ์ตรัสตอบว่าพระองค์ไม่สามารถถอนคำสาปของกุมารทั้งสี่ได้ แต่ทรงมีทางเลือกให้สองทาง ทางเลือกแรกคือต้องไปเกิดเป็นผู้ที่อุทิศตนแด่พระนารายณ์ให้ครบเจ็ดชาติ ส่วนทางเลือกที่สองคือไปเกิดเป็นศัตรูของพระนารายณ์ให้ครบสามชาติ หลังจากไปเกิดในโลกมนุษย์จนครบตามทางเลือกใดทางเลือกหนึ่งแล้ว จึงจะสามารถกลับมาเป็นทวารบาลได้ตามเดิม ทวารบาลทั้งสองได้เลือกทางเลือกที่สอง เพราะไม่ต้องการที่จะอยู่ห่างไกลจากพระนารายณ์ไปถึงเจ็ดชาติ แม้ว่าจะต้องไปเกิดเป็นศัตรูของพระนารายณ์ก็ตาม
 
=== ===
=== ปฺรหฺลาทและนรสิงห์ ===
 
 
[[หมวดหมู่:ศาสนาฮินดู]]