ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปราสาทศีขรภูมิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2T (คุย | ส่วนร่วม)
Kruaun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
 
==ลักษณะทางสถาปัตยกรรม==
[[ภาพ:Tublung-sikhor.JPG|thumb|right|275px|ทับหลังปรางค์ประธาน]]
 
[[ภาพ:Place_SrikarabhumiPrasat_central_entrance.jpg|thumb|right|250px|ประติมากรรมจำหลักกรอบประตูปรางค์ประธาน เป็นภาพนางอัปสราถือดอกบัว (ด้านหน้า-สว่าง) และทวารบาลกุมกระบอง (ด้านข้าง-เงา)]]
ปราสาทศีขรภูมิ มีลักษณะเป็นปรางค์หมู่ 5 องค์ เป็นปราสาทก่ออิฐไม่สอปูน ตั้งอยู่บนฐานศิลาแลงเดียวกัน โดยตัวฐานก่อด้วยศอลาแลงกว้าง 25 เมตร ยาว 26 เมตร สูง 1.5 เมตร โดยมีคูน้ำกว้าง 125 เมตร ล้อมรอบสามด้าน โดยเว้นด้านตะวันออกอันเป็นทางเข้าไว้
 
ปรางค์ประธานสูงประมาณ 32 เมตร ทับหลังเป็นภาพพระศิวนาฏราชสิบกร ทรงฟ้อนรำอยู่เหนือเกียรติมุข ภายใต้วงโค้งลายท่อนมาลัย ซึ่งสลักเป็นภาพ[[พระคเณศ]] [[พระพรหม]] [[พระวิษณุ]] และ[[พระอุมา]] บริเวณเสากรอบประตูสลักเป็นรูปนาง[[อัปสรา]]ถือดอกบัว และทวารบาลยืนกุมกระบอง โดยทับหลังชิ้นนับเป็นทับหลังที่มีความสวยงามและสมบูรณ์ที่สุดชิ้นหนึ่งของเมืองไทย
 
 
==อ้างอิง==
* [[กรมศิลปากร]], '''ปราสาทศีขรภูมิ''' . (ป้ายประชาสัมพันธ์)
* [[กรมศิลปากร]]. (2550). '''ประวัติศาสตร์เมืองสุรินทร์'''. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์พริ้นติ้งและพับลิชชิ่ง. ISBN 978-974-425-057-5
* เทพมนตรี ลิมปพยอม (บรรณาธิการ). (2550). '''เนะขแมร์ อินไทยแลนด์: หลากหลายมุมมองและเรื่องราวของปราสาทเขมรในประเทศไทย'''. กรุงเทพฯ: มิวเซียม บุคส์. ISBN 978-974-13-5746-8
 
 
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==