ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กินรีไมมัส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wickanet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Wickanet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Taxobox
| name = ''GinnareemimusKinnareemimus''
| status = fossil
| fossil_range = [[ยุคครีเทเชียส]]ตอนต้น ประมาณ 130 ล้านปีมาแล้ว
บรรทัด 10:
| infraordo = [[Theropoda]]
| familia = [[Ornithomimidae]]
| genus = '''''?GinnareemimusKinnareemimus'''''
| species = '''''?GinnareemimusKinnareemimus sp.khonkaenensis'''''
| binomial_authority = KanekoBuffetaut et al. [[ค.ศ. 20002009|20002009]]
}}
 
 
 
'''กินรีไมมัส''' ([[GinnareemimusKinnareemimus]]) เป็นชื่อที่ตั้งขึ้นมาอย่างไม่เป็นทางการของไดโนเสาร์สกุลหนึ่งที่ยังไม่ได้รับการบรรยายลักษณะ ([[โนเมน นูดัม]]) ของไดโนเสาร์[[เทอร์โรพอด]]พบในหินทราย[[หมวดหินเสาขัว]][[ยุคครีเทเชียส]] จากหลุมขุดค้นที่ 1 [[อุทยานแห่งชาติภูเวียง]] [[อำเภอเวียงเก่า]] [[จังหวัดขอนแก่น]] ลักษณะกระดูกที่ได้มีความละม้ายคล้ายคลึงกับไดโนเสาร์พวก[[ออร์นิโถมิโมซอเรียน]] หลักฐานที่พบเป็นเพียงกระดูกอุ้งตีนข้อที่สามที่มีสภาพที่ไม่สมบูรณ์แต่มีลักษณะของพินชิ่งด้านข้างที่เด่นชัดซึ่งพบได้ใน ออร์นิโถมิโมซอร์ ไทรันโนซอรอยด์ ทรูดอนติดส์ และ ครีแนกนาธิดส์ หากมีอายุยุคครีเทเชียสตอนต้นจริง จะถือว่าเป็นออร์นิโถมิโมซอร์รุ่นแรกๆที่มีความเก่าแก่กว่าที่เคยพบเห็นมา ชื่อกินรีไมมัส ได้รับการตีพิมพ์ครั้งแรกโดย [[รีอูอิชิ คาเนโก๊ะ]] ([[Ryuichi Kaneko]]) ในปี ค.ศ. 2000 ทั้งนี้ยังไม่ถือว่าเป็นสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการ
 
ต่อมา Buffetaut et al, 2009 ได้ศึกษากระดูกหลายชิ้น ประกอบด้วยกระดูกหัวหน่าว กระดูกขาหลังท่อนล่าง กระดูกน่อง กระดูกฝ่าตีน และกระดูกนิ้ว จากหลุมขุดค้นที่ 5 ในอุทยานแห่งชาติภูเวียงพบว่าเป็นไดโนเสาร์พวก Ornithomimosaur เป็นสกุลและชนิดใหม่และได้ตั้งชื่อว่า Kinnareemimus khonkaenensis (กินรีไมมัส ขอนแก่นเอนซิส) การค้นพบสกุลและชนิดใหม่ในยุคครีเทเชียสตอนต้นนี้กล่าวได้ว่า ornithomimosaur รุ่นใหม่ๆอาจมีถิ่นกำเนิดในเอเชีย