ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัศมีวานเดอร์วาลส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ลิงก์ข้ามภาษาด้วยบอต
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: pt:Raio de Van der Waals; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 27:
[[แก๊ส]]จริงจะไม่มีพฤติกรรมตรงตามการทำนาย ในบางกรณี การเบี่ยงเบนอาจเกิดขึ้นได้มาก ตัวอย่าง เช่น [[แก๊สอุดมคติ]]อาจไม่มีทางเป็น[[ของเหลว]]หรือ[[ของแข็ง]]ได้เลยไม่ว่าถูกทำให้เย็นหรือถูกอัดแน่นอย่างไร ดังนั้นการปรับเปลี่ยน[[กฎแก๊สอุดมคติ]] <math>P\tilde{V} = nRT</math>, จึงเกิดขึ้น โดยเฉพาะ[[สมการแห่งสถานภาพของวานเดอร์วาลส์]]ที่มีประโยชน์และเป็นที่รู้จักกันดี [[สมการวานเดอร์วาลส์|สมการแห่งสถานภาพของวานเดอร์วาลส์]]: <math>\left (P + a(\frac{n}{\tilde{V}})^2\right ) (\tilde{V} - nb) = nRT</math>, ซึ่ง a และ b คือตัวแปรเสริมที่ปรับได้ ที่ได้จากการทดลองการวัดที่ทำกับแก๊สจริง ค่าของมันจะผันแปรต่างกันไปตามชนิดของแก๊ส
 
'''สมการวานเดอร์วาลส์'''ยังมีผลในการแปลความหมายทาง[[จุลภาค]]อีกด้วย โมเลกุลมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน ปฏิสัมพันธ์จะผลักกันแรงมากที่ระยะไกล้กันมาก และจะอ่อนแรงลงที่ระยะกลางและจะหมดไปในระยะที่ยาวขึ้น จะต้องทำการแก้[[กฏแก๊สอุดมคติ]]เมื่อนำแรงดึงดูดและแรงผลักมาร่วมพิจารณา ตัวอย่างเช่น การผลักซึ่งกันและกันระหว่างโมเลกุลจะมีผลต่อการแยกโมเลกุลอื่นๆ โดยรอบออกไปจากเขตแดนเป็นระยะที่แน่นอนระยะหนึ่งรอบๆ โมเลกุลนั้น ดังนั้น เศษส่วนของที่ว่างทั้งหมดจะไม่มีที่ไว้ให้สำหรับแต่ละโมเลกุลในขณะที่มันเคลื่อนไหวอย่างไม่เป็นระบบ ในสมการสถานภาพ ปริมาตรแห่งการแยกตัว (nb) นี้ควรเอาไปลบออกจากปริมาตรของภาชนะ (V)ดังนั้น: (V - nb) เงื่อนไขอีกข้อหนึ่งที่นำมาใช้ใน'''สมการวานเดอร์วาลส์'''คือ <math>a(\frac{n}{\tilde{V}})^2</math>, ซึ่งเป็นการพรรณาถึงแรงดึงดูดที่แผ่วระหว่างโมเลกุลต่างๆ ซึ่งจะเพิ่มขึ้นเมื่อค่าของ n เพิ่มขึ้น หรือค่าของ V ลดลงและเมื่อโมเลกุลเริ่มเกาะกลุ่มกันหนาแน่นขึ้น
 
== ปริมาตรวานเดอร์วาลส์ ==
บรรทัด 72:
[[nl:Vanderwaalsstraal]]
[[pl:Promień van der Waalsa]]
[[pt:Raio de vanVan der Waals]]
[[ru:Радиус Ван-дер-Ваальса]]
[[sh:Van der Valsov radijus]]