ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระอินทราชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ฉัตรา (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ฉัตรา (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|สมเด็จพระอินทราชา|พระอินทราชาพระองค์อื่น|พระอินทราชา}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
| สีพิเศษ = #e0951d
บรรทัด 21:
}}
 
'''สมเด็จพระอินทราชา''' (เจ้านครอินทร์) หรือ '''สมเด็จพระรามาธิบดีศรีนครินทราธิราช''' หรือ '''สมเด็จพระนครินทราธิราช''' เสด็จพระราชสมภพ เมื่อปี [[พ.ศ. 1902]] พระองค์ทรงเป็นพระราชนัดดาใน[[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1]] และเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 6 ของ[[กรุงศรีอยุธยา]] เมื่อปี [[พ.ศ. 1952]]
{{ความหมายอื่น|สมเด็จพระอินทราชา|พระอินทราชาพระองค์อื่น|พระอินทราชา}}
'''สมเด็จพระอินทราชา''' (เจ้านครอินทร์) หรือ '''สมเด็จพระนครินทราธิราช''' เสด็จพระราชสมภพ เมื่อปี [[พ.ศ. 1902]] พระองค์ทรงเป็นพระราชนัดดาใน[[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1]] และเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 6 ของ[[กรุงศรีอยุธยา]] เมื่อปี [[พ.ศ. 1952]]
 
== พระราชประวัติ ==
เจ้านครอินทร์เคยเสด็จไปเมืองจีน เมื่อปี พ.ศ. 1920 เมื่อครั้งยังครองเมือง[[สุพรรณบุรี]] พระเจ้ากรุงจีนให้ความสนิทสนม อีกทั้งยังยกย่องว่าเป็นกษัตริย์อีกองค์หนึ่ง เมื่อ[[สมเด็จพระรามราชาธิราช]]เกิดข้อพิพาทกับเจ้าพระยามหาเสนาบดี เป็นเหตุให้เจ้าพระยามหาเสนาบดีหนีมาขึ้นกับพระองค์และยกกำลังเข้ายึดกรุงศรีอยุธยาได้ แล้วจึงทูลเชิญเจ้านครอินทร์ขึ้นครองราชย์กรุงศรีอยุธยา ส่วนสมเด็จพระรามราชาธิราชได้รับโปรดเกล้า ฯ ให้ไปครองเมือง[[ปทาคูจาม]]แทน เมื่อปี พ.ศ. 1952 และเมื่อพระองค์ขึ้นครองราชย์แล้วก็ทรงส่งราชทูตไปเจริญทางพระราชไมตรีกับ[[จีน]]ด้วย
สมเด็จพระอินทราชา มีพระนามเดิมว่า เจ้านครอินทร์ เป็นพระราชโอรสในเจ้าเมือง[[สุพรรณบุรี]]และเป็นพระราชนัดดาใน[[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1]] พระองค์ได้เสวยราชสมบัติอยู่ ณ เมืองสุพรรณบุรี จนกระทั่ง [[สมเด็จพระรามราชาธิราช]]เกิดข้อพิพาทกับเจ้าพระยามหาเสนาบดี เป็นเหตุให้เจ้าพระยามหาเสนาบดีหนีมาขึ้นกับพระองค์และยกกำลังเข้ายึดกรุงศรีอยุธยาได้ แล้วจึงทูลเชิญพระองค์ขึ้นครองราชสมบัติแห่งกรุงศรีอยุธยา ส่วนสมเด็จพระรามราชาธิราชได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ไปครองเมืองปทาคูจามแทน
 
สมเด็จพระอินทราชาครองราชย์ได้ 15 ปี และเสด็จสวรรคต เมื่อปี [[พ.ศ. 1967]] ในครั้งนั้นเจ้าอ้ายพระยาและเจ้ายี่พระยาพระราชโอรสของพระองค์ต่างยกพลเข้ามายังกรุงศรีอยุธยาเพื่อหมายในราชสมบัติ จึงเกิดการชนช้างกันขึ้น ณ สะพานป่าถ่าน จนสิ้นพระชนม์ทั้ง 2 พระองค์ เป็นเหตุให้เจ้าสามพระยาพระราชโอรสอีกพระองค์ที่ 3 ได้ขึ้นครองกรุงศรีอยุธยา โดยมีพระนามว่า [[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2]]
ในปี พ.ศ. 1962 [[พระมหาธรรมราชาที่ 3|พระมหาธรรมราชาธิราช]]เสด็จสวรรคต เป็นเหตุให้[[พระยาบาลเมือง]]และ[[พระยาราม]]สู้รบเพื่อชิงราชสมบัติแห่ง[[กรุงสุโขทัย]] พระองค์ได้ทรงเข้าไปไกล่เกลี่ย แล้วทรงอภิเษกพระยาบาลเมืองให้ครองกรุงสุโขทัย และพระยารามราชครองเมือง[[ศรีสัชนาลัย]] หลังจากนั้น ได้ทรงปรับปรุงการปกครองหัวเมืองต่าง ๆ ของกรุงศรีอยุธยาใหม่ พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้พระราชโอรสไปครองเมืองต่างๆ ได้แก่ [[เจ้าอ้ายพระยา]]ไปครอง[[เมืองสุพรรณบุรี]]ซึ่งเป็น[[เมืองลูกหลวง]] [[เจ้ายี่พระยา]]ไปครองเมือง[[แพรกศรีราชา]] (บริเวณ[[อำเภอสรรคบุรี]] [[จังหวัดชัยนาท]]) และ[[เจ้าสามพระยา]]ไปครองเมือง[[ชัยนาท]]ซึ่งเป็นเมืองหน้าด่านทางด้านเหนือ
 
== พระราชกรณียกิจ ==
สมเด็จพระอินทราชาครองราชย์ได้ 15 ปี เสด็จสวรรคต เมื่อปี [[พ.ศ. 1967]] ในครั้งนั้นเจ้าอ้ายพระยาและเจ้ายี่พระยาพระราชโอรสของพระองค์ต่างยกพลเข้ามายังกรุงศรีอยุธยาเพื่อหมายในราชสมบัติ จึงเกิดการชนช้างกันขึ้น ณ สะพานป่าถ่าน จนสิ้นพระชนม์ทั้ง 2 พระองค์ เป็นเหตุให้เจ้าสามพระยาพระราชโอรสอีกพระองค์ได้ขึ้นครองกรุงศรีอยุธยา โดยมีพระนามว่า สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2
 
=== ด้านการปกครอง ===
เมื่อปี พ.ศ. 1962 [[พระมหาธรรมราชาที่ 3|พระมหาธรรมราชาธิราช (ที่ 3)]] เสด็จสวรรคต [[เมืองเหนือ]]ทั้งปวงเป็นจลาจลอันเนื่องมาจาก[[พระยาบาลเมือง]]และ[[พระยารามสุโขทัย|พระยาราม]]พระราชโอรสในพระมหาธรรมราชาที่ 3 แย่งชิงราชสมบัติแห่ง[[กรุงสุโขทัย]]กัน เป็นเหตุให้พระองค์ต้องเสด็จขึ้นไปถึง[[เมืองพระบาง]] แล้วทรงไกล่เกลี่ยให้พระยาบาลเมืองเป็นพระมหากษัตริย์แห่ง[[กรุงสุโขทัย]]ครอง[[เมืองพิษณุโลก]]อันเป็นเมืองหลวงและให้[[พระยารามสุโขทัย |พระยาราม]]เป็นเจ้าเมือง[[สุโขทัย]]อันเป็นเมืองเอก
 
นอกจากนี้ พระองค์ทรงโปรดเกล้าฯ ให้พระราชโอรสไปครองเมืองอันเป็นเมืองลูกหลวง ได้แก่
* เจ้าอ้ายพระยา ครอง[[เมืองสุพรรณบุรี]] ซึ่งเป็น[[เมืองลูกหลวง]]
* เจ้ายี่พระยา ครอง[[เมืองแพรกศรีราชา]] (เมืองสรรค์) (บริเวณ[[อำเภอสรรคบุรี]] [[จังหวัดชัยนาท]])
* [[เจ้าสามพระยา]] ครองเมือง[[ชัยนาท]] ซึ่งเป็นเมืองหน้าด่านทางด้านเหนือ
 
=== ด้านการต่างประเทศ ===
เจ้านครอินทร์เคยเสด็จไปเมือง[[จีน เมื่อ]]ในปี [[พ.ศ. 1920]] เมื่อครั้งยังครองเมือง[[เมืองสุพรรณบุรี]] พระเจ้ากรุงจีนให้ความสนิทสนม อีกทั้งยังยกย่องว่าเป็นกษัตริย์อีกองค์หนึ่ง โดยจดหมายเหตุทางจีนออกพระนามพระองค์ว่า "เจียวลกควนอิน" ซึ่งมาจากพระนาม เจ้านครอินทร์ ต่อมา เมื่อ[[สมเด็จพระรามราชาธิราช]]เกิดข้อพิพาทกับเจ้าพระยามหาเสนาบดี เป็นเหตุให้เจ้าพระยามหาเสนาบดีหนีมาขึ้นกับพระองค์และยกกำลังเข้ายึดกรุงศรีอยุธยาได้ แล้วจึงทูลเชิญเจ้านครอินทร์พระองค์ขึ้นครองราชย์ราชสมบัติแห่งกรุงศรีอยุธยา ส่วนสมเด็จพระรามราชาธิราชได้รับโปรดเกล้า ฯ ให้ไปครองเมือง[[ปทาคูจาม]]แทน เมื่อปี พ.ศ. 1952 และเมื่อพระองค์ขึ้นครองราชย์แล้วก็ได้ทรงส่งราชทูตไปเจริญทางพระราชไมตรีกับ[[พระเจ้ากรุงจีน]]ด้วยหลายครั้ง พระเจ้ากรุงจีนก็แต่งราชทูตมาเจริญราชไมตรีหลายครั้งเช่นเดียวกัน โดยจดหมายเหตุจีนออกพระนามพระองค์ว่า "เจียวลกควนอินตอล่อทีล่า" ซึ่งมาจากพระนาม เจ้านครอินทราธิราช
 
== ดูเพิ่ม ==
เส้น 51 ⟶ 62:
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์สุพรรณภูมิ]]
 
{{โครงชีวประวัติ}}
{{โครงประวัติศาสตร์}}
 
[[de:Intharacha]]