ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระดูก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TobeBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: jv:Balung
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: ro:Os (anatomie); ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 1:
[[ภาพไฟล์:Gray252.png|thumb|250px|right|กระดูกต้นขาของมนุษย์]]
 
'''กระดูก''' ({{Lang-en|Bones}}) เป็น[[อวัยวะ]]ที่ประกอบขึ้นเป็น[[โครงร่างแข็งภายใน]] (endoskeleton) ของ[[สัตว์มีกระดูกสันหลัง]] หน้าที่หลักของกระดูกคือการค้ำจุนโครงสร้างของร่างกาย การเคลื่อนไหว การสะสม[[แร่ธาตุ]]และการสร้าง[[เซลล์เม็ดเลือด]]
บรรทัด 7:
== ลักษณะทั่วไปของกระดูก ==
=== โครงสร้างของกระดูก ===
[[ภาพไฟล์:Illu compact spongy bone.jpg|thumb|350px|right|ภาพแสดงภาคตัดขวางของกระดูกแบบยาว แสดงโครงสร้างภายในของกระดูก]]
[[ภาพไฟล์:Gray247.png|thumb|200px|right|ส่วนหัวของกระดูกต้นขาตัดตามยาว แสดงลักษณะของกระดูกเนื้อแน่น (ด้านล่าง) และกระดูกเนื้อโปร่ง (ด้านบน)]]
กระดูกไม่ได้เป็นโครงสร้างที่แข็งทึบเพียงอย่างเดียว หากแต่มีช่องว่างที่อยู่ระหว่างโครงสร้างแข็ง ใน[[กระดูกแบบยาว]] จะพบว่าด้านนอกของกระดูกจะมีเนื้อกระดูกที่แข็งมากๆ ซึ่งเรียกส่วนนี้ว่า [[กระดูกเนื้อแน่น]] (compact bone) ซึ่งมีช่องว่างของเนื้อกระดูกน้อยมาก และคิดเป็นประมาณ 80% ของเนื้อกระดูกในผู้ใหญ่ ส่วนชั้นในของกระดูกจะมีลักษณะที่โปร่งคล้ายเส้นใยสานกัน เรียกว่า [[กระดูกเนื้อโปร่ง]] (spongy/cancellous bone) ซึ่งทำให้กระดูกมีความเบา และเป็นที่อยู่ของ[[หลอดเลือด]]และ[[ไขกระดูก]] (marrow) นอกสุดของกระดูกจะมี[[เยื่อหุ้มกระดูก]] (periosteum) หุ้มอยู่โดยรอบ และมีหลอดเลือดและ[[เส้นประสาท]]มาเลี้ยงเนื้อกระดูก ยกเว้นที่บริเวณ[[ข้อต่อ]] จะไม่มีเยื่อหุ้มกระดูกอยู่
 
บรรทัด 15:
 
เมื่อดูโครงสร้างของกระดูกเนื้อแน่นใต้[[กล้องจุลทรรศน์]] จะพบว่าเนื้อเยื่อกระดูกมีลักษณะที่เป็นวงซ้อนๆกัน โดยที่มีศูนย์กลางเป็นช่องขนาดใหญ่ที่เรียกว่า [[ช่องฮาเวอร์เชียน]] (Haversian canal) ซึ่งเป็นที่อยู่ของหลอดเลือดที่มาเลี้ยงเนื้อเยื่อกระดูก และวงรอบๆจะเป็นที่อยู่ของเซลล์กระดูกที่โตเต็มที่แล้ว ในเนื้อเยื่อกระดูกจะประกอบด้วย[[เซลล์กระดูก]] (bone cells) ที่มีส่วนสำคัญในการสร้างและการก่อรูปของกระดูกอีกด้วย เซลล์กระดูกมีสามชนิด ได้แก่
[[ภาพไฟล์:Gray77.png|thumb|250px|right|ภาพวาดแสดงภาคตัดขวางของเนื้อเยื่อกระดูกของกระดูกเนื้อแน่น แสดงการเรียงตัวของช่องฮาเวอร์เชียนและเซลล์กระดูกโดยรอบ]]
* '''[[ออสติโอบลาสต์]]''' (Osteoblast) เป็นเซลล์สร้างเนื้อกระดูกที่เจริญพัฒนามาจาก[[เซลล์ต้นกำเนิดเซลล์กระดูก]] (osteoprogenitor cells) เซลล์นี้จะอยู่ตามขอบของเนื้อกระดูก และสร้างโปรตีนที่เรียกว่า [[ออสติออยด์]] (osteoid) ซึ่งโปรตีนดังกล่าวนี้จะมีสารอนินทรีย์มาสะสมและกลายเป็นเนื้อกระดูก นอกจากนี้ออสติโอบลาสต์ยังสร้าง[[เอนไซม์]][[อัลคาไลน์ ฟอสฟาเทส]] (alkaline phosphatase) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างเนื้อกระดูก รวมทั้งสารนอกเซลล์อื่นๆอีกด้วย
* '''[[ออสติโอไซต์]]''' (Osteocyte) เป็นเซลล์ที่เจริญต่อมาจากออสติโอบลาสต์ที่ได้สร้างเนื้อกระดูกจนล้อมรอบตัวเซลล์ และเป็นเซลล์กระดูกที่เจริญเต็มที่แล้ว รอบๆเซลล์จะเป็นช่องที่เรียกว่า ''ลากูนา'' (lacuna) และแต่ละลากูนาจะติดต่อกันด้วยช่องทางผ่านเล็กๆที่เรียกว่า ''คานาลิคูไล'' (canaliculi) ซึ่งทำให้แต่ละออสติโอไซต์มีการติดต่อสื่อสารกันได้ ออกซิเจนและสารอาหารก็จะถูกส่งจากหลอดเลือดภายในช่องฮาเวอร์เชียนเข้ามายังแต่ละเซลล์ผ่านทางช่องดังกล่าวนี้ แม้ออสติโอไซต์จะเป็นเซลล์กระดูกที่โตเต็มที่ แต่มันยังมีหน้าที่ในการควบคุมระดับ[[แคลเซียม]]และสารนอกเซลล์อื่นๆด้วย
บรรทัด 21:
 
== การเจริญพัฒนาของกระดูก ==
[[ภาพไฟล์:Illu bone growth.jpg|thumb|450px|right|ขั้นตอนการเจริญพัฒนาของกระดูก แบบ Endochondral ossification]]
การเจริญพัฒนาของกระดูกจะเริ่มตั้งแต่ช่วงที่อยู่ใน[[ครรภ์]] โดย[[กระบวนการสร้างเนื้อกระดูก]] (ossification) สามารถแบ่งออกได้เป็นสองรูปแบบ ได้แก่
* '''Intramembranous ossification''' เป็นการสร้างเนื้อกระดูกจากการรวมตัวของกลุ่มเซลล์ชนิด[[มีเซนไคม์]] (mesenchymal cells) ซึ่งเป็นเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดต่างๆ การรวมตัวของเซลล์ดังกล่าวจะทำให้เกิด[[จุดการสร้างกระดูกปฐมภูมิ]] (primary ossification center) และตามด้วยการสะสมแคลเซียมในบริเวณดังกล่าว กระบวนการนี้จะดำเนินต่อไปจนเสร็จสมบูรณ์ การสร้างเนื้อกระดูกในลักษณะนี้มักพบใน[[กระดูกแบบแบน]] (flat bone) เช่น[[กะโหลกศีรษะ]]
บรรทัด 29:
 
== ชนิดของกระดูก ==
[[ภาพไฟล์:Illu long bone.jpg|thumb|250px|right|ส่วนประกอบและโครงสร้างของกระดูกแบบยาว]]
เราสามารถจำแนกรูปร่างของกระดูกในมนุษย์ได้เป็นห้าแบบด้วยกัน ได้แก่
* [[กระดูกแบบยาว]] (Long bone) เป็นกระดูกที่มีความยาวมากกว่าความกว้าง และประกอบด้วยส่วนกลางกระดูก หรือ[[ไดอะไฟซิส]] (diaphysis) และส่วนปลายกระดูก หรือ[[อิพิไฟซิส]] (epiphyses) กระดูกชนิดนี้เป็นชนิดที่พบได้ทั่วไปในกระดูกรยางค์
บรรทัด 111:
[[pt:Osso]]
[[qu:Tullu]]
[[ro:Os (anatomie)]]
[[ru:Кость]]
[[scn:Ossu (struttura rìggida)]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กระดูก"