ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อัตราส่วนทอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dr somboon (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Dr somboon (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[Image:Golden ratio line.svg|right|thumb|225px| '''สัดส่วนทองคำ (golden section)''' คือส่วนของเส้นที่ถูกแบ่งตรงตำแหน่งที่ก่อให้เกิด "อัตราส่วนทองคำ (golden ratio)" : อัตราส่วนของความยาวรวม <font color="green">'''''a + b'''''</font> ต่อความยาวส่วนที่ยาว <font color="blue">'''''a'''''</font> มีค่าเท่ากับความยาวส่วนที่ยาว <font color="blue">'''''a'''''</font> ต่อความยาวของส่วนที่สั้น <font color="red">'''''b'''''</font>.]]
 
'''อัตราส่วนทองคำ''' ({{lang-en|golden ratio}}) ในทางคณิตศาสตร์และศิลปะ, เลขสองจำนวน (สมมุติให้เป็น a, b และ a>b) จะเป็นอัตราส่วนทางคำถ้าอัตราส่วนระหว่างจำนวนมาก (a) ต่อผลรวม (a + b) มีค่าเท่ากับอัตราส่วนระหว่างจำนวนน้อย (b) ต่อจำนวนมาก (b) "อัตราส่วนทองคำ" เป็นค่าคงที่ทางคณิตศาสตร์ที่ไม่มีเหตุผลชัดเจน มีค่าประมาณ 1.6180339887<ref>The golden ratio can be derived by the quadratic formula, by starting with the first number as 1, then solving for 2nd number x, where the ratios (x + 1)/x = x/1 or (multiplying by x) yields: x + 1 = x2, or thus a quadratic equation: x2 − x − 1 = 0. Then, by the quadratic formula, for positive x = (−b + √(b2 − 4ac))/(2a) with a = 1, b = −1, c = −1, the solution for x is: (−(−1) + √((−1)2 − 4·1·(−1)))/(2·1) or (1 + √(5))/2.</ref> ชื่ออื่นที่เป็นที่รู้จักของ "อัตราส่วนทองคำ" ได้แก่ golden section (Latin: sectio aurea) และ golden mean<ref>Livio, Mario (2002). The Golden Ratio: The Story of Phi, The World's Most Astonishing Number. New York: Broadway Books. ISBN 0-7679-0815-5.</ref>[3][4]<ref>Piotr Sadowski, The Knight on His Quest: Symbolic Patterns of Transition in Sir Gawain and the Green Knight, Cranbury NJ: Associated University Presses, 1996</ref><ref>Richard A Dunlap, The Golden Ratio and Fibonacci Numbers, World Scientific Publishing, 1997</ref>, medial section, divine proportion, divine section (Latin: sectio divina), golden proportion, golden cut,[6] golden number, และ mean of Phidias.[7][8][9]<ref>Jay Hambidge, Dynamic Symmetry: The Greek Vase, New Haven CT: Yale University Press, 1920</ref><ref>William Lidwell, Kritina Holden, Jill Butler, Universal Principles of Design: A Cross-Disciplinary Reference, Gloucester MA: Rockport Publishers, 2003</ref><ref>Pacioli, Luca. De divina proportione, Luca Paganinem de Paganinus de Brescia (Antonio Capella) 1509, Venice.</ref> อัตราส่วนทองคำมักจะแทนด้วยตัวอักษร "phi" ในภาษากรีก (φ).
 
:<math> \frac{a+b}{a} = \frac{a}{b} = \varphi\,.</math>