ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลุมดำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Celiviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Celiviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 140:
[[ไฟล์:Ergosphere.svg|thumb|right|250px|ergosphere of a rotating black hole|เออร์โกสเฟียร์เป็นทรงรีที่บริเวณด้านนอกของขอบฟ้าเหตุการณ์ เมื่อวัตถุไม่สามารถที่จะอยู่กับที่ได้]]
{{บทความหลัก|เออร์โกสเฟียร์}}
หลุมดำที่หมุนได้จะถูกล้อมรอบด้วยบริเวณกาลอวกาศที่ไม่สามารถจะอยู่นิ่งได้เรียก [[เออร์โกสเฟียร์]] เป็นผลมาจาก[[กระบวนการย้ายกรอบ]] (frame-dragging) ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปทำนายว่ามวลที่หมุนใด ๆ จะมีการค่อย ๆ ผ่านพ้นไปตามกาลอวกาศทันทีรอบตัวมันเอง วัตถุใด ๆ ใกล้ ๆ กับมวลที่หมุนได้จะเริ่มเคลื่อนในทิศทางที่กำลังจะหมุน ผลกระทบสำหรับหลุมดำที่กำลังหมุนนี้จะรุนแรงมากขึ้นใกล้กับขอบฟ้าเหตุการณ์ที่วัตถุใด ๆ สามารถเคลื่อนที่เร็วกว่าความเร็วแสงในทิศทางตรงข้าม
 
เออร์โกสเฟียร์ ของหลุมดำถูกล้อมรอบโดย
* ในภายนอกทรงรีรูปไข่ (oblate) ที่เกิดขึ้นพร้อมกันกับขอบฟ้าเหตุการณ์ที่ขั้วและเป็นที่สังเกตได้กว้างกว่ารอบ ๆ เส้นศูนย์สูตร ขอบเขตนี้บางทีเรียกว่า"เออร์โกเฟส" แต่มันเป็นขอบเขตและไม่เป็นสถานะของแข็งไปมากกว่าบริเวณขอบฟ้าเหตุการณ์ ที่จุดนี้ เป็นการลากผ่านความเร็วแสงของกาลอวกาศ
* ภายในแต่อยู่ภายนอกขอบฟ้าเหตุการณ์
 
บรรทัด 164:
 
=== การยุบตัวของสภาพโน้มถ่วง ===
{{main|การยุบตัวของสภาพโน้มถ่วง}}
{{main| gravitational collapse}}
 
การยุบตัวของสภาพโน้มถ่วงนี้เกิดจากเมื่อวัตถุอยู่ภายใต้ความดันที่สภาพโน้มถ่วงของตัวมันเองไม่สามารถต้านทานได้ ถ้าเป็นดาวก็อาจจะเกิดขึ้นจากการที่ดาวมีการสังเคราะห์นิวคลีโอดาวน้อยเกินไป ที่จะรักษาอุณหภูมิไว้ได้ หรือเนื่องมาจากดาวที่มีความเสถียรเมื่อได้รับมวลมากในทางที่ไม่สามารถเพิ่มอุณหภูมิที่แก่นได้ หรือในอีกกรณีที่อุณหภูมิของดาวไม่เพียงพอที่จะปกป้องดาวจากการยุบตัวภายใต้น้ำหนักของตัวมันเองได้จากกฏ[[แก๊สอุดมคติ]] ซึ่งอธิบายความเชื่อมโยงระหว่างความดัน อุณหภูมิและปริมาตร
 
การยุบตัวอาจจะหยุดได้ด้วยความกดดันที่ลดลง (degeneracy pressure) ของส่วนประกอบของดาว หรือก็คือการที่สสารกลายเป็นของเหลวในสภาวะเสื่อมสลายที่ประหลาด (Degenerate matter) ผลลัพธ์ที่ได้จัดเป็นหนึ่งในดาวหลายประเภทของดาวที่มีความหนาแน่นสูง โดยดาวที่หนาแน่นเหล่านี้ประเภทใดที่จะก่อตัวนั้นก็ขึ้นอยู่กับมวลเล็กมวลน้อยมารวมกัน สสารจะที่เหลือก็จะเปลี่ยนกลไกด้วยการยุบตัวไปในชั้นนอก (เช่น การเกิด[[ซูเปอร์โนวา]] หรืออาจจะมีการสั่นสะเทือนจนกลายเป็น[[เนบิวลาดาวเคราะห์]] และต้องเข้าใจว่ามวลที่เหลือออกมานั้นเป็นน้อยกว่าของดาวแม่มาก คือจากดาวที่มีมวล 20 เท่าของมวลดวงอาทิตย์อาจเหลือเพียงแค่ 5 เท่า เท่านั้นหลังจากเกิดการยุบตัว
 
ถ้ามวลของเศษเล็กเศษน้อยที่เหลือ เหลืออยู่เพียง 3-4 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ (จากขอบเขตของโทลแมน-ออพเพนไฮน์เมอร์-โวลคอฟ) ไม่ว่าจะเป็นเพราะดาวดวงเดิมนั้นอาจจะเคยใหญ่มา หรือเป็นเพราะว่าเศษที่เหลือนั้นรวมไปกับมวลอื่น ๆ อาจจะเป็นนิวตรอนที่ลดความดันลงมา ก็อาจะจะไม่เพียงพอที่จะหยุดการยุบตัวนี้ได้ กลไกหลังจากนี้ (ยกเว้นความดันที่ลดลงของ[[ควาร์ก]]) มีพลังมากพอที่จะหยุดการยุบตัวและวัตถุจะสามารถกลายเป็นหลุมดำได้ทั้งสิ้น
บรรทัด 250:
=== วงแหวนก๊าซและลำก๊าซ ===
[[ไฟล์:Black hole jet diagram.jpg|left|thumb|การก่อตัวของ ลำก๊าซภายนอกกาแล๊กซี่จาก วงแหวนก๊าซของหลุมดำ]]
[[จานพอกพูนมวล]] เป็นก๊าซร้อนที่ประกอบด้วยอะตอม และไอออนของธาตุต่างๆ รวมทั้งอิเลคตรอนอิสระ และอนุภาคพลังงานสูงมากมาย และก๊าซร้อน หรือ [[พลาสมา]] (plasma) ที่พุ่งออกมา (gas jet)เป็นลำอากาศ ซึ่งเกิดจากการเหนียวนำในจานพอก แต่จานพอกนี้ไม่ได้เป็นตัวพิสูจน์ว่า[[หลุมดำจากดาวฤกษ์]]มีอยู่จริง เพราะวัตถุขนาดใหญ่และมีความหนาแน่นมาก เช่น [[ดาวนิวตรอน]]และ[[ดาวแคระขาว]] สามารถสร้างวงแหวนก๊าซและลำก๊าซก่อตัว ซึ่งมีประพฤติตัวเหมือน ๆ กันกับหลุมดำ
 
ในทางกลับกัน วงแหวนก๊าซและลำก๊าซอาจจะเป็นหลักฐานที่ดีสำหรับการปรากฏของ[[หลุมดำมวลยวดยิ่ง]] เพราะเรารู้ว่ามวลมีขนาดใหญ่พอจะทำให้เกิดปรากฏการณ์นี้ได้ก็มีแต่หลุมดำเท่านั้น
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/หลุมดำ"