ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยูกลีนา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: hy:Կանաչ Էվգլենա
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
| genus = '''''Euglena'''''
| genus_authority = [[Christian Gottfried Ehrenberg|Ehrenberg]], 1830
}}--[[พิเศษ:เรื่องที่เขียน/222.123.154.78|222.123.154.78]] 15:26, 10 ตุลาคม 2552 (ICT)
}}
 
'''ยูกลีนา''' (euglena) เป็น[[สัตว์เซลล์เดียว]]ขยายพันธุ์โดยวิธีแบ่งเซลล์ มีลักษณะเป็นรูปกระสวย หน้าป้าน ท้ายเรียว มีเยื่อหุ้มหนาเรียก [[เพลลิเคิล(Pellicle)]] มีช่องเปิดขนาดเล็ก เรียก [[ไซโตสโตม(Cytostome)]] เชื่อมต่อเซลล์เป็นร่องลึก เรียก [[ไซโตฟาริงซ์]] (Cytopharynx)ตอนปลายจะพองออกมีลักษณะเป็นถุงเรียกว่า [[รีเซอวัว]] ([[Reservoir]]) บริเวณนี้ช่วงฐานจะมี[[แกรนูล]]ใน[[ไซโตพลาสซึม]] เรียก [[ไคเนโตโซม]] หรือ [[เบลฟฟาโรพลาสต์]] หรือ [[เบซอลบอดี]] (Kinetosome or Blephaloplast or Basal body) เป็นที่เกิดของ[[แฟลเจลลัม ]] โดยมี 2 เส้น เส้นยาวยื่นจากไซโตสโตม เพื่อใช้ในการเคลื่อนที่ , เส้นสั้นอยู่ภายในรีเซอวัว -มี[[คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล]]ลักษณะทรงกลมอยู่ทางด้านข้างของรีเซอวัว โดยมีแวคิวโอลขนาดเล็กล้อมรอบอยู่ ทำหน้าที่รวบรวมน้ำ และกำจัดน้ำโดยการหดตัว ทางรีเซอวัวมีจุดตาสีแดง(Eye spot or Stigma) ลักษณะเป็นรูปถ้วยอยู่ทางด้านข้างไซโตฟาริงซ์ ทำหน้าที่เป็นทางผ่านของแสงส่งไปยังอวัยวะรับความรู้สึก
'''ยูกลีนา''' (euglena) เป็น[[สัตว์เซลล์เดียว]]ขยายพันธุ์โดยวิธีแบ่งเซลล์
 
== ยูกลีนา == ตัวของยูกลีนาเป็นสีเขียว เนื่องจากมี[[คลอโรพลาสต์]]รูปไข่กระจายอยู่ในไซโตพลาสซึม เมื่ออยู่ในสภาพที่มีแสงจะดำรงชีวิตแบบ[[โฮโลไฟติค]] อาหารสะสมเป็น[[พาราไมลอน]]กระจายในเซลล์ ถ้าอยู่ในสภาพที่ไม่มีแสงจะดำรงชีวิตแบบ[[แซบโปรโซอิค]] โดยคลอโรฟิลล์จะสลายไป แต่ถ้ากลับมาอยู่ในสภาพที่มีแสงใหม่ ยูกลีนาจะสร้างคลอโรฟิลล์ขึ้นมาใหม่ แต่ไม่สามารถสังเคราะห์แสงได้ เนื่องจากเกิด[[การกลายพันธุ์]]
 
การเคลื่อนที่ของยูกลีนาจะใช้แฟลเจลลัมเส้นยาวพักโบกไปมาเหมือนการว่ายน้ำ ถ้าในสภาพไม่มีน้ำจะยืดหดตัวให้เกิดคลื่นในลำไส้ทำให้สามารถเคลื่อนที่ไปข้างหน้า
 
การสืบพันธุ์ของยูกลีนาเป็นแบบไม่อาศัยเพศ โดยการแบ่งเซลล์ตามยาวจากด้านหน้าไปยังด้านท้าย ในสภาพอากาศที่ไม่เหมาะสมยูกลีนาจะแบ่งตัวในซีสต์ โดยเซลล์หดตัวเป็นรูปกลมหุ้มด้วย[[เยื่อเจลลาติน]](Gelstionous covering) เป็นการเข้าเกราะ จากนั้นยูกลีนาจึงเริ่มแบ่งตัว ซึ่งจะได้ยูกลีนามากกว่า 1 ตัวใน 1 [[ซีสต์]]
--[[พิเศษ:เรื่องที่เขียน/222.123.154.78|222.123.154.78]] 15:26, 10 ตุลาคม 2552 (ICT)
[[หมวดหมู่:สิ่งมีชีวิต]]
{{โครงชีววิทยา}}