ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดร่ำเปิง (ตโปทาราม)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Suebpakdee (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{กล่องข้อมูล พุทธศาสนสถาน
| full_name = วัดร่ำเปิง(ตโปทาราม (ร่ำเปิง)
| common_name = วัดร่ำเปิง(ตโปทาราม)
| image_temple = One.JPG
| short_describtion =
เส้น 10 ⟶ 9:
| principal_buddha =
| important_buddha =
| abbot = พระครูภาวนาวิรัช '''เจ้าอาวาสวัดตโปทาราม(ร่ำเปิง) '''
| venerate =
| pre_road =
| road_name =
| sub_district = [[ตำบลสุเทพ]]
| district = [[อำเภอเมืองเชียงใหม่|อำเภอเมือง]]
| province = [[จังหวัดเชียงใหม่]]
| zip_code =
| tel_no =
เส้น 34 ⟶ 33:
| footnote = }}
 
'''วัดตโปทาราม''' (ร่ำเปิง)หรือ ''วัดร่ำเปิง'' ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 1 หมู่ 5 ถนนคันคลองชลประทาน [[ตำบลสุเทพ]] อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ นอกเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ อีกทั้งอยู่ใกล้บริเวณวัดอุโมงค์, วัดป่าแดง และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายในวัดมีพื้นที่ทั้งหมด 19 ไร่ 1 งาน 78 ตารางวา
[[ภาพ:ภาพแผนที่ทางไปวัดตโปทาราม(ร่ำเปิง).jpg|thumb|ภาพแผนที่ทางไปวัดตโปทาราม(ร่ำเปิง)]]
 
วัดร่ำเปิงยังได้รับการแต่งตั้งให้เป็น ศูนย์พัฒนาจิตเฉลิมพระเกียรติฯ ประจำจังหวัดเชียงใหม่ ปี พ.ศ. 2542 และสำนักปฏิบัติธรรม ประจำจังหวัดเชียงใหม่ แห่งที่ 2 ปี พ.ศ. 2547
'''วัดตโปทาราม (ร่ำเปิง) ''' ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 1 หมู่ 5 ถนนคันคลองชลประทาน ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ นอกเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ อีกทั้งอยู่ใกล้บริเวณวัดอุโมงค์, วัดป่าแดง และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีพื้นที่ทั้งหมด 19 ไร่ 1 งาน 78 ตารางวา
 
== ประวัติ ==
เส้น 44 ⟶ 43:
 
จากเหตุการณ์[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ทหารญี่ปุ่นกลุ่มหนึ่งได้เข้ามาพื้นที่วัดและลักลอบขุดพระธาตุเจดีย์ได้นำวัตถุโบราณและพระพุทธรูปไป ส่วน[[อุโบสถ]] และ[[วิหาร]] ชำรุดทรุดโทรมลง วัดนี้จึงร้างมาหลายยุคสมัย
 
ต่อมาในปี พ.ศ. 2514 ได้สร้างพระวิหารขึ้นใหม่ จากนั้นอาราธนา[[พระ]][[ภิกษุ]]ชาวบ้านร่ำเปิงรูปหนึ่งชื่อ หลวงปู่จันทร์สม หรือ ครูบาสม มาปกครองดูแลวัดจนวิหารสร้างเสร็จเสร็จในปี พ.ศ. 2516 ในปีเดียวกัน ท่านถึงแก่มรณภาพ วัดจึงขาดพระจำพรรษาจนถึงปลายปี 2517
 
ส่วนวิหารซึ่งเป็นที่ประดิษฐานพระประธานนั้นมีต้นไม้ขึ้นรกปกคลุมมาก แผ่นศิลาจารึกได้จมดินอยู่ในวิหาร ปี พ.ศ. 2484 คณะสงฆ์จังหวัดเชียงใหม่ จึงได้ประชุมตกลงกันให้อัญเชิญพระประธานไปประดิษฐานไว้ ณ ด้านหลังพระวิหาร[[วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร]]ในจังหวัดเชียงใหม่ และได้ร่วมกับกรรมการวัดทั้งผู้มีจิตศรัทธาทั้งหลาย ทำการก่อสร้างพระวิหารขึ้นใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2515
 
เมื่อปี พ.ศ. 2519 มีการสร้างอุโบสถที่มีอยู่ในเลา มีผู้มีจิตศรัทธาช่วยซ่อมให้ได้ใช้ในการปฏิบัติสังฆกรรมมาจนถึงปัจจุบัน พระพุทธรูปพระประธานนั้นมีอายุประมาณ 700-800 ปี และมีชื่อว่า หลวงพ่อศรีอโยธยา
 
พระครูพิพัฒน์คณาภิบาล (ทอง สิริมงคโล) เป็นเจ้าอาวาสวัดเมืองมางและเป็นอาจารย์ใหญ่ฝ่ายวิปัสสนาธุระประจำสำนักวัดเมืองมาง ได้ธุดงค์วัตรมาปักกลดอยู่บริเวณวัดร่ำเปิงนี้ ได้เล็งเห็นว่าสถานที่เหมาะแก่การเจริญวิปัสสนากรรมฐาน จึงมีโครงการที่จะขยายงาน[[วิปัสสนากรรมฐาน]]ขึ้นอีกแห่งหนึ่งจึงได้มาจำพรรษาอยู่ทีวัดร่ำเปิง(ตโปทาราม) แห่งนี้ และชักชวนชาวบ้าน ร่วมกันบูรณปฏิสังขรณ์ฟื้นฟูขึ้นจนสำเร็จ
[[ภาพ:ภาพแผนที่ทางไปวัดตโปทาราม(ร่ำเปิง).jpg|thumb|ภาพแผนที่ทางไปวัดตโปทาราม(ร่ำเปิง)]]
ในปี พ.ศ. 2533 ท่านได้เลื่อนสมณศักดิ์จากพระครูชั้นพิเศษเป็นพระราชคณะที่ราชทินนาม “พระสุพรหมยานเถร” และในปี พ.ศ. 2534 พระครูภาวนวิรัชได้มาดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสองค์ใหม่ โดยท่านเจ้าอาวาสรูปใหม่ ท่านสืบทอดเจตนารมณ์ของท่านเจ้าคุณฯพระอาจารย์ อดีตเจ้าอาวาส อีกทั้งได้ก่อสร้างโรงเรียนพระปริยัติธรรม 3 ชั้น เพื่อส่งเสริมในด้านการศึกษา[[พระปริยัติธรรม]] โดยเฉพาะในด้าน[[พระอภิธรรม]] นอกจากนี้ได้สร้าง อาคาร “80 ปี พระราชพรหมาจารย์” ซึ่งเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมสำหรับ[[พุทธศาสนิกชน]]
 
วัดนี้เป็นแหล่งวิปัสสนากรรมฐานทาง[[ภาคเหนือ]]ที่ทำการอบรมพระกรรมฐานในแนว[[สติปัฎฐาน 4]] ปัจจุบันมีชาวไทยและชาวต่างประเทศ สนใจมาปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานกันอย่างมากมาย นอกจากนี้วัดนี้เป็นแห่งแรกที่มีพระไตรปิฏกฉบับ[[ล้านนา]] อีกทั้งเป็นแหล่งรวบรวมที่มีพระไตรปิฏกฉบับภาษาต่าง ๆ มากที่สุดในโลก
 
'''== ปูชนียวัตถุ''' ==
----
 
'''วัดร่ำเปิงได้รับการแต่งตั้งให้เป็นสถานที่ดังนี้'''
* ศูนย์พัฒนาจิตเฉลิมพระเกียรติฯ ประจำจังหวัดเชียงใหม่ ปี พ.ศ. 2542
* สำนักปฏิบัติธรรม ประจำจังหวัดเชียงใหม่ แห่งที่ 2 ปี พ.ศ. 2547
 
----
 
'''ปูชนียวัตถุ'''
* พระบรมธาตุเจดีย์ ในพงศาวดารโยนก และชิกาลมาลีปกรณ์
* พระพุทธรูปหลวงพ่อตโป
* พระพุทธรูปหลวงพ่อศรีอโยธยา
 
==รูปภาพ==
==ประมวลภาพบรรยากาศภายในวัดวัดตโปทาราม (ร่ำเปิง)==
 
<gallery>
ภาพ:One.JPG
เส้น 83 ⟶ 73:
ภาพ:336.JPG
</gallery>
 
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
<references />
* [http://http://www.watrampoeng.com/index.php?option=com_content&task=view&id=25&Itemid=38/th/2009-07-04-06-30-58 ประวัติวัดตโปทาราม(ร่ำเปิง).]
* [http://www.watrampoeng.com/index.php?option=com_content&task=view&id=26&Itemid=67/th/2009-07-04-06-33-25 พระครูภาวนาวิรัช เจ้าอาวาสวัดตโปทาราม(ร่ำเปิง).]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
[http://watrampoeng.com/index.php?option=com_content&task=view&id=26&Itemid=67 พระครูภาวนาวิรัช เจ้าอาวาสวัดตโปทาราม(ร่ำเปิง).]
* [http://www.watrampoeng.com/ เว็บไซด์อย่างเป็นทางการ]
 
[[หมวดหมู่:วัดในจังหวัดเชียงใหม่]]