ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อ่าวอิเซะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wizard (คุย | ส่วนร่วม)
Wizard (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 29:
 
ภูมิภาครอบอ่าวอิเสะมีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์และมีภูมิประเทศที่สะดวกต่อการคมนาคมขนส่งมาตั้งแต่สมัยโบราณ จึงมีชุมชนมากมายเกิดขึ้นรอบอ่าว รวมทั้งยังมีแหล่งประมง (ตัวอย่างสัตว์น้ำที่จับได้ เช่น ''[[Panulirus]]'')ไข่มุก นาข้าว และอุตสาหกรรมต่างๆ [[ท่าเรือนะโงะยะ]]ที่ชายทะเลด้านเหนือของอ่าวเป็นท่าเรือขนส่งสินค้าที่ใหญ่ที่สุดในญี่ปุ่น ในอ่าวมี[[ท่าอากาศยานนานาชาติ Chubu Centrair]] ตั้งอยู่บนเกาะที่สร้างขึ้น เปิดใช้บริการเมื่อ [[พ.ศ. 2548]]
 
เมื่อสิ้นสุด[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ภูิมิภาคอ่าวอิเสะมีบทบาทสำคัญในการฟื้นฟูเศรษฐกิจของญี่ปุ่นอย่างรวดเร็วโดยการขยายของอุตสาหกรรมใหญ่ ซึ่งก่อมลพิษต่อคุณภาพของน้ำและดิน รวมทั้งการลดลงของที่ดินชายทะเล Seaweed beds และถิ่นอาศัยของพืชและสัตว์ในท้องถิ่น มีเขื่อนกั้นน้ำทะเลมากมายถูกสร้างขึ้นเพื่อป้องกันแหล่งชุมชน โดยเฉพาะหลังจากไต้ฝุ่นอ่าวอิเสะพัดถล่มเมื่อ พ.ศ. 2502 ซึ่งเขื่อนเหล่านี้ทำให้หลายพื้นที่ถูกตัดขาดจากทะเลมากขึ้น
 
อ่าวอิเสะมีรอยเลื่อนแผ่นดินไหวที่มีพลังอยู่สามรอย คือ รอยเลื่อนอ่าวอิเสะ Suzuka-oki fault และ Shiroko-noma fault<ref>[http://sciencelinks.jp/j-east/article/200014/000020001400A0514004.php Science Links Japan: Active Faults Surveys in the Ise Bay]</ref>