ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไรชส์อุนมิทเทิลบาร์ไคท์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ราชรฐาภิสิทธิ์" → "ราชรัฏฐาภิสิทธิ์" ด้วยสจห.
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
หันผิดข้าง
บรรทัด 6:
ผลได้ของการเป็นราชรัฏฐาภิสิทธิ์คือสิทธิในการเรียกเก็บภาษีและค่าธรรมเนียม, มีตลาด, พิมพ์เหรียญกษาปณ์, มีกองทัพ และมีระบบยุติธรรมของตนเองได้ สิทธิหลังสุดอาจจะรวม “[[ศาลเลือด]]” (Blutgericht) หรือศาลอาญาที่มีสิทธิลงโทษผู้ทำผิดถึงประหารชีวิตได้ สิทธิเหล่านี้ขึ้นอยู่การการมอบให้ในพระราชประกาศสิทธิโดยพระจักรพรรดิ
 
ผลเสียของการเป็นราชรัฏฐาภิสิทธิ์อาจจะรวมทั้งการเข้ายุ่งเกี่ยวโดยตรงโดยตรงของจักรวรรดิ เช่นที่เกิดขึ้นหลายครั้งในเมืองทางตะวันตกเฉียงใต้หลังจาก[[สงครามชมาคาลดิค]] (Schmalkaldic War) และการจำกัดหรือการสูญเสียสิทธิที่ได้รับมอบทั้งหมดถ้าพระจักรพรรดิหรือราชสภาไม่สามารถปกป้องสิทธิดังกล่าวได้จากการต่อต้านหรือรุกรานจากภายนอก เช่นที่เกิดขึ้นระหว่าง[[สงครามมหาสัมพันธมิตรครั้งที่หนึ่ง]]ของ[[สงครามการปฏิวัติฝรั่งเศส]] (French Revolutionary Wars) หรือระหว่าง[[สงครามมหาสัมพันธมิตรครั้งที่สอง]]ใน[[สงครามนโปเลียน]] [[สนธิสัญญาลูนเนวิลล์]] (Treaty of Lunéville) ที่ลงนามกันเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม ค.ศ. 1801 ระหว่าง[[สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่หนึ่ง|สาธารณรัฐฝรั่งเศส]]และ[[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]] ระบุให้พระจักรพรรดิสละพระราชสิทธิทุกอย่างที่มีต่อ[[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]] ในการประชุมครั้งสุดท้ายของ[[ราชสภาแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|ราชสภา]] ({{lang-de|Reichsdeputationshauptschluss}}) ในปี ค.ศ. 1802 ถึงปี ค.ศ. 1803 หรือที่เรียกว่า “[[การปฏิรูปดินแดนในเยอรมนี]] [[ราชนครรัฐอิสระ]]และสังฆาจักรเกือบทั้งหมดต่างก็สูญเสีย “ราชรัฏฐาภิสิทธิ์“รัฏฐาภิสิทธิ์” และถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของฆราวัสจักรที่ปกราชวงศ์ต่างๆ
 
== ปัญหาในความเข้าใจจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ==
การที่จะทำความเข้าใจถึงการมอบหรือใช้ “ราชรัฏฐาภิสิทธิ์“รัฏฐาภิสิทธิ์” ทำให้ประวัติของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ยากต่อการเข้าใจ โดยเฉพาะในบรรดานักประวัติศาสตร์ แม้แต่นักประวัติศาสตร์ร่วมสมัยเช่น[โยฮันน์ โวล์ฟกัง ฟอน เกอเธอ]] และ [[โยฮันน์ กอทท์ลีบ ฟิคท์]] (Johann Gottlieb Fichte) ผู้เรียกจักรวรรดิว่า “มหายักษ์“ยักษ์” ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 นักประวัติศาสตร์ผู้เขียนเกี่ยวกับจักรวรรดิว่าไม่เป็นทั้ง “โรมัน“โรมัน” และ “ศักดิ์สิทธิ์“ศักดิ์สิทธิ์” หรือแม้แต่เป็น “จักรวรรดิ“จักรวรรดิ” เมื่อเทียบกับ “จักรวรรดิบริติช“บริติช” มีความเห็นว่าจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์เป็นความล้มเหลวอันใหญ่หลวงที่รุ่งเรืองถึงจุดสูงสุดเมื่อต้นยุคกลางและเสื่อมโทรมตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา<ref>James Bryce (1838-1922), ''Holy Roman Empire,'' London, 1865.</ref> หลังจากการตีพิมพ์งานของเจมส์ ไบรซ์ชิ้นใหญ่เกี่ยวกับจักรวรรดิที่มีชื่ออันเหมาะสมว่า “จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์“ศักดิ์สิทธิ์” เป็นเวลาเกือบหนึ่งร้อยปี ทัศนคตินี้ก็เป็นทัศนคติของนักประวัติศาสตร์ของ[[สมัยใหม่ตอนต้น]]เกือบทุกคนเรื่อยมา ซึ่งมีส่วนในการวางรากฐานของปรัชญาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์เยอรมันที่เป็นที่โต้แย้งกันที่เรียกว่า “[[วิถีพิเศษ]] (Sonderweg)<ref>James Sheehan, ''German History 1770-1866'', Oxford, Oxford University Press, 1989. Introduction, pp. 1-8.</ref>
 
== อ้างอิง ==