ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Drboon (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Drboon (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15:
 
== เทคนิคการหาตำแหน่ง <ref>[http://gps-ppp.blogspot.com บุญทรัพย์ วิชญางกูร. 2009. private communication. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]</ref>==
การหาตำแหน่งมาจากแนวความคิดง่าย ๆ ที่ว่า ถ้าเรารู้ตำแหน่งของดาวเทียม และเรารู้ระยะทางจากดาวเทียมถึงเครื่องรับ เราจะสามารถหาตำแหน่งของเครื่องรับสัญญาณได้ เช่น ถ้าลองพิจารณาใน 2 มิติ แล้วทั้งตำแหน่งที่กำหนดให้ 2 จุด และระยะจากจุดทั้ง 2 ถึงจุดที่ต้องการหา เราสามารถใช้วงเวียนเขียนเส้น โดยมีจุดที่กำหนดให้เป็นศูนย์กลาง รัศมีวงเีวีัยนเท่ากับระยะทางที่รู้ เส้นวงกลมที่ได้จะตัดกัน 2 จุด โดยหนึ่งจุดเป็นคำตอบที่ถูกต้อง ทีนี้สมการอย่างง่ายเขียนได้เป็น
 
<math>D1 = \sqrt[]{(xX1-x)^2 + y(Y1-y)^2)} </math> ระยะจากจุดที่ 1
 
<math>D2 = \sqrt[]{(x2^2 + y2^2)} </math> ระยะจากจุดที่ 2
 
ถ้าเป็นสามมิติก็สามรถทำได้ในลักษณะเีดียวกัน โดยมีจุดที่กำหนดให้ 3 จุด
ในทำนองเดียวกัน สมการอย่า่งง่าย
 
<math>D1 = \sqrt[]{(x1^2 + y1^2 + z1^2)} </math> ระยะจากจุดที่ 1
 
<math>D2 = \sqrt[]{(x2^2 + y2^2 )} </math> ระยะจากจุดที่ 2
 
 
สำหรับระยะทางนั้น เครื่องรับสัญญาณจีพีเอสสามารถคำนวณโดยการจับเวลาที่สัญญาณเดินทางจากดาวเทียมถึงเครื่องรับ แล้วคูณด้วยความเร็วแสง ก็จะได้ระยะ ณ เสี้ยวเวลา (epoch) ที่ดาวเทียมห่างจากเครื่องรับ ถ้าไรก็ดี เนื่องจากคลื่นเดินทางด้วยความเร็วแสง นาฬิกาที่จับเวลาที่เครื่องรับมีคุณภาพเหมือนนาฬิกาคว๊อซทั่วไป ความผิดพลาดจากการจับเวลาแม้เพียงเล็กน้อยก็ทำให้ระยะัผิดไปมาก ความผิดพลาดดังกล่าวจึงนับเป็นตัวแปรสำคัญในการคำนวณตำแหน่ง ด้วยเหตุนี้ การหาตำแหน่งจึงมีตัวแปรพื้นฐานที่สำคัญรวม 4 ตัวแปร ได้แก่ ตำแหน่งที่ต้องการหาใน 3 มิติ (x,y,z) และ ความผิดพลาดอันเนื่องมาจากนาฬิกาที่ใช้ ทำให้เราต้องการดาวเทียม'''อย่างน้อย 4 ดวง''' เพื่อสร้าง 4 สมการ ในการแก้ตัวแปรทั้ง 4