ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "วัดพระฝางสว่างคบุรีมุนีนาถ" → "วัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ" ด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล พุทธศาสนสถาน
| full_name = วัดพระฝางสว่างสวางคบุรีมุนีนาถ
| common_name = วัดพระฝาง
| image_temple = พระฝาง.gif
บรรทัด 35:
| footnote = ในอดีตเป็นวัดที่ชุมนุมของ [[ชุมนุมพระเจ้าฝาง]]ในสมัยธนบุรี
}}
'''วัดพระฝาง''' หรือชื่อเต็มว่า '''วัดพระฝางสว่างสวางคบุรีมุนีนาถ''' ตั้งอยู่ที่บ้านฝาง หมู่ที่ 3 ต.ผาจุก [[อำเภอเมืองอุตรดิตถ์|อ.เมือง]] [[จ.อุตรดิตถ์]] เป็นวัดเก่าแก่ที่สร้างมาตั้งแต่[[สมัยสุโขทัย]] ตามทะเบียนวัดระบุว่า ประมาณปี [[พ.ศ. 1700]] (ก่อนสมัย[[พ่อขุนรามคำแหงมหาราช]]) วัดพระฝางนับว่าเป็นกลุ่มโบราณสถานของเมืองฝางสวางคบุรี '' (สว่างคบุรี เพี้ยนมาจาก สวรรคบุรี) ''เพียงแห่งเดียวที่ยังหลงเหลืออยู่ วัดนี้ได้รับพระราชทาน[[วิสุงคามสีมา]]ในสมัยสุโขทัย และเป็นวัดพระมหาธาตุประจำเมืองสว่างคบุรี เมืองที่เจริญรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัย[[กรุงสุโขทัย]]
และเคยเป็นวัดที่จำพรรษาของ “เจ้าพระฝาง” เมืองสวางคบุรี ซึ่งอยู่ในสมณเพศแต่นุ่งห่มผ้าแดงและมิได้สึกเป็นฆราวาส ท่านได้ซ่องสุมผู้คนสมัย[[กรุงศรีอยุธยา]]แตกครั้งที่ 2 เพื่อจะกู้เอกราช
 
บรรทัด 63:
{{บทความหลัก|บานประตูวัดพระฝาง}}
 
บานประตูเก่าวิหารวัดพระฝางสว่างสวางคบุรีมุนีนาถ เดิมนั้นอยู่วัดพระฝางสว่างสวางคบุรีมุนีนาถ แต่เนื่องจากวิหารชำรุดทรุดโทรมมาก อีกทั้งวัดพระฝางในขณะนั้นไม่มีพระภิกษุสามเณรอยู่จำพรรษา พระสุธรรมเมธี (บันลือ ธมฺมธโช) เจ้าคณะจังหวัดอุตรดิตถ์ในสมัยนั้นจึงได้ขออนุญาต[[กรมศิลปากร]]นำมาเก็บรักษาไว้ที่ อาคารธรรมสภา [[วัดธรรมาธิปไตย]] เมื่อเดือน[[กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2494]] ทิ้งไว้แต่ตัววิหารปล่าว ปราศจากบานประตูอันวิจิตรตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
 
[[ไฟล์:Wat Phra Fang 09.JPG|thumb|บานประตูวิหารวัดพระฝางจำลอง]]
บรรทัด 69:
บานประตูคู่นี้แกะสลักใน[[สมัยอยุธยา]] แต่ละบานขนาดกว้าง 1.2 เมตร สูง 5.3 เมตร และหนาถึง 16 เซนติเมตร ทำจากไม้ปรุแกะสลักเป็นลายกนกก้านขด ลายพุ่มทรงข้าวบิณฑ์ บานละ 7 พุ่ม ระหว่างพุ่มทรงข้าวบิณฑ์มีกนกใบเทศขนาบ สองข้างขวามือด้านบนมีอกเลาประตูอยู่ตรงกลาง แกะสลักเป็นลายเทพพนม ตอนบนอกเลา 4 องค์ตอนล่างอกเลา 4 องค์ กล่าวกันว่างดงามเป็นที่สองรองจากประตูวิหาร[[วัดสุทัศน์]]ในกรุงเทพฯ
ในปี [[พ.ศ. 2534]] กรมศิลปากรได้ส่งเจ้าหน้าที่มาอนุรักษ์เนื้อด้วยกระบวนการทาง[[วิทยาศาสตร์]] บานประตูวัดพระฝางจึงมีสภาพอย่างที่เห็นในปัจจุบัน
ในปี[[พ.ศ. 2550]] ได้มีการจัดสร้างบานประตูไม้แกะสลักวิหารวัดพระฝางคู่ใหม่ เพื่อนำกลับไปติดตั้งยังวิหารหลวงวัดพระฝาง (ติดตั้งในเดือน[[เมษายน]] [[พ.ศ. 2551]]) ซึ่งบานประตูคู่ใหม่นี้มีลักษณะวิจิตรสวยงามเหมือนของเดิมทุกประการ โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกรมศิลปากรในการจัดสร้าง<ref>[http://tor.gprocurement.go.th/06_tor/uploads2/20641/1/tor1.doc โครงการบูรณะปฏิสังขรณ์​โบราณสถานวัดพระฝางสว่างสวางคบุรีมุนีนาถ (วัดพระฝาง).เว็บไซต์สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง]</ref>
 
== ประวัติเจ้าพระฝาง "ชุมนุมเจ้าพระฝาง" ==