ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หนึ่ง-เก้า-แปด-สี่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Moopeeh (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งต้องการหมวดหมู่ +เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{ต้องการหมวดหมู่}}
{{กล่องข้อมูล หนังสือ
| name = หนึ่ง-เก้า-แปด-สี่<br>1984
เส้น 15 ⟶ 16:
| publisher = Secker and Warburg (London)
| pub_date = [[8 มิถุนายน]] [[ค.ศ. 1949]]
| copy_right =
| media_type =
| pages =
| isbn = 978-0-141-18776-1
เส้น 24 ⟶ 25:
}}
 
'''Nineteen Eighty-Four''' '' (1984) '' ตีพิมพ์ฉบับภาษาไทยใช้ชื่อว่า '''หนึ่ง-เก้า-แปด-สี่''' หรืออ่านออกเสียงว่า '''นายน์ทีน เอทที่-โฟว์''' เป็นนิยายที่เขียนโดย[[จอร์จ ออร์เวลล์]] นักเขียนชาวอังกฤษ ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี [[ค.ศ. 1949]] ในช่วงของการเกิด[[สงครามเย็น]] ภายหลัง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เป็นวรรณกรรมแนว[[ดิสโทเปีย]] (Dystopia) หรือบางครั้งเรียกว่า negative utopia (ตรงข้ามกับสังคมอุดมคติ) กล่าวถึงเรื่องราวที่เกิดขึ้นในปี [[ค.ศ. 1984]] (พ.ศ. 2527) ในอนาคต 35 ปี หลังจากหนังสือตีพิมพ์ครั้งแรก (ปี 1949) เป็นเรื่องของสังคมเผด็จการเบ็ดเสร็จโดยผู้ปกครองกลุ่มเล็กๆ ที่มีอำนาจล้นฟ้าเด็ดขาดอย่างสัมบูรณ์ในการควบคุมบงการประชาชนทั้งสังคม โดยที่ในสังคมนั้นไม่มีใครรู้ว่ากลุ่มผู้ปกครองนั้นเป็นใคร <ref>[http://www.onopen.com/2008/editor-spaces/3405 อำนาจกับการขบถ] ธงชัย วินิจจะกูล, onopen.com</ref> แต่อาจเรียกเขาในนาม บิ๊ก บราเธอร์ ฉบับภาษาไทยแปลโดย[[รัศมี เผ่าเหลืองทอง]] และ[[อำนวยชัย ปฏิพัทธ์เผ่าพงษ์]] ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2525 <ref>[http://www.nationweekend.com/pdf/866.pdf รหัสลับ 'จอร์จ ออร์เวลล์' 6 ทศวรรษ 'ไนน์ทีนเอ้กตี้โฟร์'] จักรกฤษณ์ สิริริน, เนชั่นสุดสัปดาห์, ปีที่ 17 ฉบับที่ 866, 2 มกราคม 2552</ref> และตีพิมพ์ครั้งล่าสุดเมื่อ พ.ศ. 2550
 
ก่อนการตีพิมพ์ครั้งแรก หนังสือจะใช้ชื่อว่า ''The Last Man in Europe'' แต่ผู้เขียนได้เปลี่ยนชื่อเป็น "1984" เพื่อให้ฟังดูน่าสงสัย และน่าติดตาม <ref>Crick, Bernard. "Introduction" to ''Nineteen Eighty-Four'' (Oxford: Clarendon Press, 1984) </ref>
 
=== วรรณกรรมร่วมสมัย ===
หนังสือเล่มนี้ถูกตีพิมพ์หลายครั้ง ภาคภาษาอังกฤษถูกนำมาใช้ในการสอนในมหาวิทยาลัยหลายแห่ง เพื่อใช้ศึกษาเกี่ยวกับภาษาศาสตร์กับสังคม (Sociolinguistics) โดยเฉพาะภาษากับความคิด ( Language and Thought)
 
=== ภาพยนตร์ ===
เรื่องนี้ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ที่ออกฉาย ในปี ค.ศ. 1984 มีความยาว 1 ช.ม. 50 นาที ได้รับแรงบันดาลใจจากนวนิยายของจอร์จ ออเวลล์ กำกับและเขียนบทภาพยนตร์โดย Michael Radford นำแสดงโดย[[จอห์น เฮิร์ต]], [[ริชาร์ด เบอร์ตัน]] และ[[ซูซานนา แฮมิลตัน]] จอห์น เฮิร์ตได้รับรางวัลในฐานะนักแสดงนำชายยอดเยี่ยมจากหลายรางวัล โดยรวมภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับ 6 รางวัลและ ได้รับการเสนอชื่อ 1 รางวัล<ref>[http://www.imdb.com/title/tt0087803/ Nineteen Eighty-Four] imdb.com</ref>
 
=== ประวัติของ จอร์จ ออร์เวลล์ ===
George Orwell เป็นชาวอังกฤษ ที่ได้มีโอกาสไปรับราชการเป็นตำรวจอยู่ในพม่า <ref>[http://www.sparknotes.com/lit/1984/context.html/ 1984]Sparknotes</ref> เขามาจากครอบครัวชนชั้นกลาง ค่อนไปทางยากจน หลังการสำเร็จศึกษาจาก อีตัน (ETON) เขาไม่ชอบอาชีพตำรวจที่ทำอยู่ ซึ่งต้องดูแลและควบคุมอย่างเข้มงวดสำหรับประเทศที่เป็นอาณานิคมอังกฤษในขณะนั้น ออร์เวลล์มีปัญหาสุขภาพ จึงขอย้ายกลับมารับราชการที่ประเทศอังกฤษ จากนั้นตัดสินใจลาออกจาการเป็นตำรวจ และหันมาเอาดีทางด้านงานเขียนแทน
 
เขาทุ่มเทให้กับงานเขียนเขามาก นั่นคือการเข้าไปใช้ชีวิตอยู่กับคนยากจนจริงๆ ดูวิถีการใช้ชีวิต การอยู่การกิน นั่นจึงทำให้งานเขียนเขามีพลัง ได้รับการยกย่องให้เป็นวรรณกรรม ร่วมสมัย มีหลายคนตั้งข้อสังเกตุข้อสังเกตว่า งานเขียนของออร์เวลล์ เปลี่ยนโลก เช่นตอนที่เขาเขียนในปี 1949 กำลังเป็นที่ระบาดของลัทธิฮิตเลอร์ในเยอรมัน รวมทั้งคอมมิวนิสต์ในรัสเซีย การเขียนสังคมอุดมคติเชิงลบ ทำให้มนุษย์ตระหนักว่า จะเกิดอะไรขึ้น หากลัทธินี้ยังดำเนินต่อไป งานเขียนของเขาถูกยับยั้งจากบางประเทศด้วย เนื่องจากเห็นว่าเสียดสีสังคมมากเกินไป
 
=== คำพูดชวนคิดจาก 1984 ===
 
War is Peace สงครามคือสันติภาพ
เส้น 47 ⟶ 48:
Ignorance is Strength ความเฉยชาคือกำลัง
 
== วัฒนธรรมสมัยนิยม ==
* ชื่อรายการ และตัวละครใน[[เรียลลิตี้โชว์]] [[บิ๊ก บราเธอร์]] มาจากชื่อตัวละครใน หนึ่ง-เก้า-แปด-สี่ Big Brother แสดงให้เห็นถึงการคอยเฝ้่าเฝ้ามองตลอดเวลา และจะให้คนทำอะไรทุกอย่างเพื่อเป็นผลดีต่อองค์กร แม้จะทำร้ายตัวเขาเอง และผู้อื่นก็ตาม
 
== อ้างอิง ==
{{wikiquote-en|Nineteen_Eighty-Four}}
{{รายการอ้างอิง}}